ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Conductors, dielectrics and capacitance
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมและการชน.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
แผ่นดินไหว.
แรงไฟฟ้า และ สนามไฟฟ้า
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ว ความหนืด (Viscosity)
Electric force and Electric field
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
พลังงานภายในระบบ.
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
การแปรผันตรง (Direct variation)
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วงรี ( Ellipse).
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
สนามไฟฟ้าและแรงทางไฟฟ้า
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
พันธะเคมี.
สนามไฟฟ้าและแรงทางไฟฟ้า
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา ฟิสิกส์ 5 (ว40205) โดย ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา

วัดความรู้พื้นฐานไฟฟ้าสถิต 1.ในสภาพปกติอะตอมของธาตุทุกชนิดมีประจุไฟฟ้าเป็นชนิดใด ก. บวก ข. ลบ ค. กลาง ง. อะไรก็ได้ 2. วัตถุ A มีประจุบวก วัตถุ B เป็นกลาง นำลวดตัวนำเชื่อมระหว่าง A กับ B จะได้ว่า ก. ประจุบวกจาก A เคลื่อนที่ไปยัง B ข. ประจุบวกจาก B เคลื่อนที่ไปยัง A ค. ประจุลบจาก A เคลื่อนที่ไปยัง B ง. ประจุลบจาก B เคลื่อนที่ไปยัง A เฉลย ค. เฉลย ง.

ก. ได้รับอิเล็กตรอน ข. สูญเสียอิเล็กตรอน 3. เมื่อนำแท่งแก้วผิวเกลี้ยงถูกับผ้าแพรจะปรากฏว่าเกิดประจุบวกบนแท่งแก้ว เพราะแท่งแก้ว ก. ได้รับอิเล็กตรอน ข. สูญเสียอิเล็กตรอน ค. ได้รับโปรตอน ง. สูญเสียโปรตอน เฉลย ข. 4. เมื่อนำวัตถุ ก. มาถูกับวัตถุ ข.พบว่าวัตถุ ก. มีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น วัตถุ ก. ต้องเป็น ก. ตัวนำ ข. ฉนวน ค. กึ่งตัวนำ ง. โลหะ เฉลย ข.

....กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า.... การทำให้วัตถุมีประจุไฟฟ้าไม่ใช่เป็นการสร้างประจุขึ้นมาใหม่ แต่เป็นการย้ายประจุจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เท่านั้น โดยที่ผลรวมของประจุทั้งหมดของระบบที่พิจารณายังเท่าเดิม ข้อสรุปนี้คือ ...ฉนวนไฟฟ้า... วัตถุใดที่ได้รับการถ่ายเทอิเล็กตรอนและอิเล็กตรอนนั้นยังคงอยู่ที่บริเวณเดิม เรียกวัตถุนั้น ...ตัวนำไฟฟ้า... วัตถุใดที่ได้รับการถ่ายเทอิเล็กตรอนแล้ว อิเล็กตรอนที่ถูกถ่ายเทสามารถเคลื่อนที่กระจายไปได้ตลอดเนื้อวัตถุโดยง่าย

การทำให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีประจุไฟฟ้า ทำได้หลายวิธี แต่เราสามารถทำได้ ด้วยวิธีง่ายๆ 3 วิธี คือ 1. โดยการแตะ 2. โดยการถู 3. โดยการเหนี่ยวนำ

สิ่งที่ควรเน้นเวลาคำนวณ หลักการ ถ้านำประจุไฟฟ้า 2 ประจุวางใกล้กันในตัวกลางใดๆแล้วจะเกิดแรงกระทำต่อกัน จากการทดลองของ คูลอมบ์พบว่า แรงระหว่างประจุไฟฟ้าจะแปรผกผันกับกำลังสองของระยะห่างระหว่างประจุไฟฟ้า ………(1) 2. แรงระหว่างประจุไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างประจุไฟฟ้า ………(2) จาก (1) และ (2) จะได้ แสดงว่า เมื่อ K แทนค่าคงที่มีค่า ..กฎของคูลอมบ์ สิ่งที่ควรเน้นเวลาคำนวณ 1. ไม่ต้องแทนเครื่องหมายของ Q1 และ Q 2 2. แรง F เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็นนิวตัน ดังนั้นจึงรวมแรง F แบบเวกเตอร์

ตัวอย่างที่ 1 สมมติว่าลูกพิท 2 ลูก แต่ละลูกมีประจุ 1 ตัวอย่างที่ 1 สมมติว่าลูกพิท 2 ลูก แต่ละลูกมีประจุ 1.0 คูลอมบ์ เมื่อจุดศูนย์กลางอยู่ห่างกันเป็น 1.0 เมตร แรงระหว่างประจุที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่าใด วิธีทำ จากกฎของคูลอมบ์ F = ดังนั้น จะได้ F = F = 9.0 x 109 N

THE END