Gate & Circuits.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การทดลองที่ 5 วงจรนับ (Counter)
Advertisements

Combination Logic Circuits
ลอจิกเกต (Logic Gate).
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
ระบบบัส I2C I2C Bus System.
I/O Interfacing :: x86, ISA Bus
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
เกตทางตรรกและพีชคณิตแบบบูล
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
Combination Logic Circuit
Basic Logic Gates วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักสัญญาณดิจิตอล
Number Representations
PARITY GENERATOR & CHECKER
-- Introduction to Sequential Devices Digital System Design I
Memory Internal Memory and External Memory
Boolean Algebra พีชคณิตบูลลีน บทที่ 4.
Flip-Flop บทที่ 8.
ACTUATOR SENSOR INTERFACE
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับฟัซซีลอจิก
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
เกท (Gate) AND Gate OR Gate NOT Gate NAND Gate NOR Gate XNOR Gate
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
Flip Flop ฟลิบฟล็อบ Flip Flop เป็น Multivibrator ชนิด Bistable คือ มี Output คงที่ 2 สภาวะ คำว่าคงที่ คือ คงอยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่งโดยไม่จำกัดเวลา จนกว่าจะมี
การวิเคราะห์และสังเคราะห์เกต
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
Programmable Controller
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
วงจรนับ (COUNTER CIRCUIT)
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
Actuator
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
ไอซีดิจิตอลและการใช้งาน
1. Sequential Circuit and Application
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
(Demonstration speech)
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
วัตถุประสงค์การใช้งาน PLC
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ครั้งที่ 3 การวิเคราะห์ และ ออกแบบวงจรเกต
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
Flip-Flop บทที่ 8.
Digital Circuit & Logic Design สอนโดย รศ. ดร
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Gate & Circuits

ทำความรู้จักกับดิจิตัล สัญญาณดิจิตัล (Digital Signal) เป็นสัญญาณชนิดหนึ่งในโลกของอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสัญญาณที่พิจารณาระดับสัญญาณเป็นหลัก เป็นระดับ สูง และ ต่ำ อาจเรียกระดับสัญญาณดังกล่าวว่า ลอจิก (Logic) เป็นพื้นฐานของ Microprocessor ,Memory ฯลฯ

Logic Gate ลอจิกเกท (Logic Gate) หรือ เกท (Gate) เป็นอุปกรณ์ที่เสมือนสวิตซ์ควบคุมในวงจรดิจิตัล

เกทพื้นฐานในวงจรดิจิตัล เกทพื้นฐานในวงจรดิจิตัลมีอยู่ 6 ชนิด NOT AND OR XOR NAND NOR

NOT GATE สัญลักษณ์ สมการ X=A'

AND GATE สัญลักษณ์ สมการ X = A • B

OR GATE สัญลักษณ์ สมการ X = A + B

XOR GATE สัญลักษณ์ สมการ X = A ⊕ B

NAND GATE สัญลักษณ์ สมการ X = (A • B)'

NOR GATE สัญลักษณ์ สมการ X = (A + B)'

ตัวอย่างการนำเกทมาต่อกัน Circuits ในที่นี้จะเป็นการนำเกทมาต่อกันเป็นวงจร อาจเรียกได้ว่า “วงจรลอจิก” ใช้ในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนขึ้น ซึ่งในเกทพื้นฐานไม่มี แบ่งวงจรลอจิกออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ แบบผสม (Combination circuit) แบบเรียงลำดับ (Sequence circuit) ตัวอย่างการนำเกทมาต่อกัน

Combination circuit เป็นวงจรที่แสดงผลออกมาโดยทันที ไม่ต้องสนใจสถานะเอ๊าท์พุทก่อนหน้า เป็นวงจรที่ต่อได้ได้ตั้งแต่ง่าย จน ถึงซับซ้อน ตัวอย่าง Combination circuit วงจรเลือกข้อมูล (Data Selector) วงจรบวกเลขฐานสอง (Adders)

Data Selector ตัวอย่างวงจร ตารางการเลือก เป็นวงจรที่จะทำการคัดเลือกข้อมูลออกทางเอ๊าท์พุท โดยใช้อินพุทเป็นตัวตัดสินใจในการเลือก ตัวอย่างวงจร ตารางการเลือก S1 S0 Y I0 1 I1 I2 I3

ตัวอย่างวงจร ตารางการเลือก Adders A B Sum Carry 1 เป็นวงจรที่มี 2 อินพุท เอ๊าท์พุทที่ได้จากวงจรจะเป็นผลบวกของสัญญาณอินพุท ตัวอย่างวงจร ตารางการเลือก A B Sum Carry 1

Sequence circuit เป็นวงจรที่จะคำนึงถึงสถานะเดิมของอินพุทเก่าเสมอๆ ส่วนมากวงจรแบบนี้จะถูกทำให้อยู่ในรูปวงจรแบบกล่องเรียกว่า Flip-Flop ตัวอย่าง Sequence circuit วงจร SR Latch

วงจร SR Latch ตัวอย่างวงจร ตารางการเลือก ย่อมาจากคำว่า Set/Reset Latch เป็นวงจรที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล ตัวอย่างวงจร ตารางการเลือก