โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
ไข้เลือดออก.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
วัคซีนคอตีบและบาดทะยัก (dT)
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
สรุปผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน งานวัณโรค ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557
X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน.
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ 20 - 50 ปี ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

บาดทะยัก ในเด็กแรกเกิด อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย: ปี 2520-2557 ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข บาดทะยัก ในเด็กแรกเกิด ไอกรน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) อัตราป่วยต่อเด็กเกิดมีชีพแสนคน หัด 2556 คอตีบ โปลิโอ 2556 2

ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย: ปี 2520-2557 ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) หัดเยอรมัน ไข้สมองอักเสบ Start JE vaccine in 1991 (17 provinces) ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน ในถิ่นทุรกันดาร ชุมชนแออัดและชายแดนใต้ เสี่ยงที่โรคจะระบาด โรคคอตีบเริ่มกลับมาระบาด โรคหัดยังระบาดเป็นระยะ ส่วนใหญ่พบในเด็กเล็ก 0-7 ปี (44%) 2556 คางทูม 3

อัตราป่วยโรคคอตีบและความครอบคลุมของ การได้รับวัคซีนคอตีบครบ 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ปี : ประเทศไทย พ.ศ. 2520-2557 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ร้อยละ แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยาและสำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค อัตราป่วย ความครอบคลุม

จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยยืนยันและเข้าข่ายโรคคอตีบ ในพื้นที่ที่มีการระบาด จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555 กลุ่มอายุ (ปี) จำนวน ( N=48) ร้อยละ 0-5 5 10.4 6-15 16 33.3 16-25 26 ปีขึ้นไป 22 45.8 รวม 48 100 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

ผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบปี 2556 จังหวัด ป่วย เสียชีวิต อายุ เดือนที่ป่วย ปัตตานี 3 2 < 15 ปี ม.ค.-ส.ค. สงขลา 4 ม.ค.-ก.ค. นราธิวาส 1 ก.พ.-พ.ค. ตาก มิ.ย. ยโสธร > 15 ปี มิ.ย.-ก.ย. อุดรธานี ก.ค.-ส.ค. กทม. ส.ค. , ธ.ค. สตูล ก.ย. เชียงใหม่ ยะลา ต.ค. รวม 21 7 ข้อมูล ณ วันที่ 21 ม.ค. 57

ความเสี่ยงในการระบาดของโรคคอตีบในประเทศไทย ผู้ป่วยโรคคอตีบชาวลาวข้ามฝั่งมารักษา ที่ประเทศไทยหลายราย เช่นที่เชียงของ (จังหวัดเชียงราย) ท่าลี่ (จังหวัดเลย) การระบาดในลาวยังมีอยู่ต่อเนื่อง สปป.ลาว สหภาพพม่า ขอรับการสนับสนุน DAT จากไทย ช่องว่างภูมิต้านทานโรค กลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือ เกิดในช่วงต้นของ EPI เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ พื้นที่ต่างๆที่เสี่ยง Herd immunity ของ Diphtheria = 85 %

มาตรการตามระดับพื้นที่ รณรงค์ ให้วัคซีน สอบสวนให้ยา อื่นๆ ระบาด รณรงค์ในเด็กและผู้ใหญ่ เก็บตกในเด็ก ผู้ป่วย & ผู้สัมผัส (พาหะ) สุขศึกษา NPI เสี่ยง รณรงค์ในเด็ก - พื้นที่เสี่ยง พื้นที่อื่นๆ

มาตรการดำเนินการในพื้นที่ 1.พื้นที่ระบาด: War room, Early Diagnosis & treatment Contact case management, Mop-Up vaccination ทุกคน, Active surveillance 2.พื้นที่สงสัย: War room, Diagnosis & treatment Contact case management, Mop-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 15 ปี และกลุ่มเสี่ยง เช่น ชาวเขา ต่างด้าว 3.พื้นที่เสี่ยง: War room, Diagnosis&treatment, Mop-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 15 ปี และกลุ่มเสี่ยง เช่น ชาวเขา ต่างด้าว 4.พื้นที่อื่นๆ: ติดตามสถานการณ์ใกล้ชิด, Diagnosis & treatment, Catch-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 12 ปี

ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ สภาวะระดับภูมิคุ้มกัน ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ

ร้อยละของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบ ในประชากร อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ปี 2554 1-10 11-20 21-30 31-40 41-50 51-60 61-70 71-80 รวม กลุ่มอายุ (ปี)

Phitsanulok Chonburi Chiang Mai Ratchaburi Songkhla Nakhon Si Thammarat Songkhla

13

ร้อยละของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบ ในกลุ่มอายุ 20 - 60 ปี ประเทศไทย ปี 2556 Seroconversion IU/mL

คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ผลการประชุม คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เมื่อ 28 มกราคม 2556 มีมติ...... กำหนดให้รณรงค์ใช้วัคซีน dT จำนวน 1 ครั้ง ผู้ใหญ่กลุ่มอายุ 20-50 ปี การรณรงค์ฯ ให้เน้นในพื้นที่ที่เสี่ยง ต่อการเกิดโรคคอตีบก่อน 15 15

มาตรการด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แจ้งเตือนรพท.รพช.สสอ.และรพสต.ทุกแห่ง ให้เร่งรัดตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนคอตีบแก่เด็กก่อนวัยเรียน และนักเรียน รวมทั้งติดตามเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนหรือ ได้รับไม่ครบ ให้ได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์ 2. กำหนดให้วัคซีน dT ทดแทน T ในทุกกรณี เช่น หญิงมีครรภ์ กลุ่มผู้มีบาดแผล  หน่วยบริการทุกแห่งทั้งภาครัฐและเอกชน  ราชวิทยาลัยและสมาคมแพทย์ที่เกี่ยวข้อง  ประกันสังคม  บริษัทนำเข้าวัคซีน เพื่อปรับแผนการจัดจำหน่ายวัคซีน ในอนาคต

มาตรการด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (ต่อ) 3. รณรงค์ให้ dT แก่ผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี 1 ครั้ง เพื่อเร่งให้ภูมิคุ้มกันโรคในชุมชนมีระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว 4. บรรจุการให้ dT กระตุ้นแก่ผู้ใหญ่ทุก 10 ปี ไว้ในตาราง EPI เพื่อกระตุ้นให้ภูมิคุ้มกันคงอยู่ในระดับที่ป้องกันโรค ได้อย่างต่อเนื่อง

โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในโอกาสเจริญพระชนมายุ ครบ ๖๐ พรรษา เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน เป้าหมายของโครงการ 1. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในประชากรอายุ 20-50 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในประชากรเด็กอายุ 2.5 – 7 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในโอกาสเจริญพระชนมายุ ครบ ๖๐ พรรษา เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน มี.ค – เม.ย. 57 ต.ค. – พ.ย. 57 มี.ค. – เม.ย 58 พ.ค. – ก.ย. 58 โครงการนำร่องรณรงค์ dT จ.มุกดาหาร (1.6 แสนโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคอีสาน 19 จังหวัด (~10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 57จังหวัด (~ 18 ล้านโด๊ส) ให้วัคซีน MR 2 .5 - 7 ปี ทั่วประเทศ

กิจกรรมและงบประมาณ ลำดับที่ กิจกรรม งบประมาณ สำนักต. สคร. สสจ. 1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการฯ 24,950 บาท - 2. จัดซื้อวัคซีน MR เพื่อปิด GAP 218.25 ล้านบาท 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอด แนวทางการรณรงค์ฯ 3.1 ส่วนกลางชี้แจง สคร. / สสจ. 700,000 บาท 3.2 สคร. ชี้แจง สสจ. / สสอ. / รพศ. รพท.รพช. รพสต. เทศบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข 40,000 บาท/จังหวัด 4. สนับสนุนงบดำเนินการให้ สสจ. 15,000 บาท/อำเภอ 5. นิเทศติดตาม / ประเมินผล 100,000 บาท 7,000 บาท/จังหวัด

การป้องกัน... แม้เพียงน้อยนิด ย่อมมีคุณค่า... กว่าการทุ่มเทอย่างมากมาย ในการดูแลรักษา... ขอบคุณ