โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นางภาสินีนุช พงษ์ไพบูลย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางภาสินีนุช พงษ์ไพบูลย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางภาสินีนุช พงษ์ไพบูลย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยิ่ง พุงใหญ่ ยิ่งตายเร็ว โรคความดันโลหิตสูง/ เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองอุดตัน โรคหัวใจ และหลอดเลือดตีบ โรคนิ่วในถุงน้ำดี/ไขมันพอกตับ โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
รอบเอวชาย ไม่เกิน 90 เซนติเมตร รอบเอวหญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร การคิดค่าดัชนีมวลกาย คือ น้ำหนักตัว(กิโลกรัม ) ส่วนสูง(เมตร)X ส่วนสูง(เมตร) รอบเอวชาย ไม่เกิน 90 เซนติเมตร รอบเอวหญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร น้อยกว่า 18.5 หมายถึง ผอม 18.5 - 22.9 = ปกติ 23.0 - 24.9 = ท้วม 25.0 - 29.9 = อ้วน มากกว่า29.9อ้วนเกิดโรค
เบาหวาน เป็นภาวะที่น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เกิดเนื่องจากตับอ่อนสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้น้อยลงหรือสร้างไม่ได้ หรือสร้างได้แต่ออกฤทธิ์ไม่ดีเท่าที่ควร
ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง 1. อายุ 35 ปีขึ้นไป 2. กรรมพันธุ์ 3. เป็นโรคอ้วน 4. ไม่ออกำลังกาย 5. เคยตรวจพบมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง 6. เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 7.มีภาวะความดันโลหิตสูง 140 / 90 มิลลิเมตรปรอท 8. มีภาวะไขมันผิดปกติ HDLน้อยกว่าหรือเท่ากับ 40 TG มากกว่าหรือเท่ากับ150
อาการ 1. ปวดปัสสาวะบ่อยครั้งขึ้น มีน้ำตาลค้างอยู่มาก ไตจึงทำการกรอง ออกมาในปัสสาวะทำให้ปัสสาวะหวานสังเกตจากการที่มีมดตอม 2. ปัสสาวะกลางคืนบ่อยขึ้น 3. กระหายน้ำ และดื่มน้ำในปริมาณมากๆต่อครั้ง 4. อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง 5. เบื่ออาหาร
6. น้ำหนักตัวลดโดยไม่ทราบสาเหตุ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปสร้างพลังงานได้จึงต้องนำไขมันและโปรตีนจากกล้ามเนื้อมาใช้ทดแทน 7. ติดเชื้อบ่อยกว่าปกติ เช่นติดเชื้อทางผิวหนังและกระเพาะอาหาร สังเกตได้จากเมื่อเป็นแผล แล้วแผลจะหายยาก 8. สายตาพร่ามองไม่ชัดเจน 9. อาการชาไม่ค่อยมีความรู้สึก
โรคความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูง หมายถึงแรงดันของกระแสเลือดที่กระทบต่อผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการสูบฉีดของหัวใจ (คล้ายแรงลมที่ดันผนังยางรถเวลาสูบลมเข้าไป) ซึ่งสามารถวัดโดยใช้เครื่องวัดความดัน(Sphygmomanometer) วัดที่แขน
มีค่าที่วัดได้ 2 ค่า คือ มีค่าที่วัดได้ 2 ค่า คือ 1. ความดันช่วงบน แรงดันเลือดขณะที่หัวใจบีบตัวซึ่งอาจจะสูงขึ้นตามอายุ ในคนๆเดียวกันอาจมีค่าแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ตามท่าของร่างกาย อารมณ์ ออกกำลัง 2. ความดันช่วงล่าง หมายถึง แรงดันเลือดขณะ ที่หัวใจคลายตัว
เป็นโรคเรื้อรังที่มีความดันในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติทำให้หัวใจต้องบีบตัวมากขึ้นเพื่อสูบฉีดเลือดให้ไหลเวียนไปตามหลอดเลือด ความดันโลหิต ประกอบด้วยสองค่า ได้แก่ - ความดันในหลอดเลือดขณะที่หัวใจบีบตัว - ความดันในหลอดเลือดขณะที่หัวใจคลายตัว ดังนั้นผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง หมายถึงผู้ที่มีความดันเลือดเท่ากับหรือสูงกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท
ไตวายเรื้อรัง
โรคไตวาย
ไต คืออะไรไตเป็นอวัยวะที่สำคัญของร่างกาย ในการขับของเสียและควบคุมปริมาณสารน้ำและเกลือแร่ในร่างกายให้สมดุล ปกติมีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วเท่ากำปั้น มีอยู่ 2 อัน ถ้าไตข้างใดข้างหนึ่งเสีย ไตอีกข้างสามารถทำหน้าที่แทนได้ เมื่อไตเสียหน้าที่ทั้ง 2ข้าง คือไม่สามารถกรองของเสีย หรือที่เรียกว่าไตวายก็จะเกิดอาการซึ่งเกิดจากการคั่งของของเสียและการคั่งของน้ำและเกลือแร่ และการเสียสมดุลของฮอร์โมนของร่างกาย
สาเหตุไตวาย 1. ประมาณ 2 ใน 3 จะเกิดโรคไตที่เกิดจากโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 2. สาเหตุอื่นคือเกิดจากกรวยไตอักเสบเรื้อรังเกิดจากหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไตตีบตันจากทางเดินปัสสาวะอุดตัน เช่น นิ่ว 3. โรค SLE 4. ยา
ไขมันในเลือดสูง ร่างกายมีไขมันในกระแสเลือดสูง ไขมันที่สูงอาจเป็นcholesterolหรือ Triglyceride ก็ได้ เนื่องจากไขมันสูงจะตกตะกอนที่ผิวของผนังหลอดเลือดที่เรียกว่าคราบไขมัน จะทำให้หลอดเลือดตีบ หรือคราบอาจจะหลุดลอยไปอุดหลอดเลือดทำให้เกิดโรค
ไขมันในเลือดสูง
โรคอ้วน โ
ไม่มีใคร อยากจะ อ้วน น น ..และเจ็บป่วย