ข้อเสื่อม เรื่องของใคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำหรับผู้มีธุรกิจยุ่งอย่างคุณ การยืดตัวที่โต๊ะคอมฯตัวโปรด ใช้เวลาประมาณ 4 นาทีเท่านั้น
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
ท่าที่ 1 บริหารลำไส้ใหญ่ (แก้ท้องผูก) คว่ำมือใช้แนวนิ้วชี้ถึงนิ้วโป้ง โค้งเป็นรูปตัว C ทั้งสองข้าง กระทบกันเบาๆ 36 ครั้ง.
ตรวจเต้านม ด้วยตนเอง วิชาการกายภาพบำบัด
งานวิชาการกายภาพบำบัด
ท่าบริหารไหล่และแขนสำหรับคนทำงาน
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอสู่คุณโดย ภายใต้การนำอย่างมีนวัตกรรมของท่านประธาน Miguel Martin N. Moreno II, M.D.
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ยืดน่องส่วนบน เริ่มจากท่ายืนหันหน้าหากำแพงเท้าทั้งสองข้างแยกจากกันเล็กน้อยก้าวเท้าซ้ายออกเข่าซ้ายงอ มือ ทั้งสองยันกำแพง งอขาซ้ายให้มากขึ้น พลางขยับเท้าขวาถอยไปด้านหลังยืดกล้ามเนื้อน่องขวาค้างไว้สักครู่
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การบริหารร่างกายทั่วไป
พฤติกรรม 10 อันดับการทำร้ายกระดูก
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การออกกำลัง ป้องกันและลดพุง
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
การบริหารกล้ามเนื้อต้นคอ
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
"ปฏิบัติตนอย่างไร ไม่ให้ปวดหลัง"
ตำแหน่งของลำตัวและศรีษะ
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
การสร้างบุคลิกภาพที่ดี
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การตรวจเท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
ฤาษีดัดตน ‘Hermit body-contorting exercise’.
นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ ภายใต้การนำและนวตกรรมของท่านประธาน Miguel Martin N. Moreno II, M.D.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
9 วิธีแก้โรคนอนไม่หลับ นางสาว ศิรินภา เบิกบาน เอก อนามัยสิ่งแวดล้อม
การฝึกความแข็งแรงของลำตัว
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
การตรวจชีพจรและวัดความดันโลหิต
โรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (Carpel Tunnel Syndrome)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
พลศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 การเคลื่อนไหวร่างกายขั้นพื้นฐาน
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
กรณีกดจุดระงับหอบหืด ให้ผู้อื่นกดให้
กำมือ เคาะเบาๆ ที่สันหลัง จากบนลงล่าง 6 เที่ยว
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
นอนคว่ำ ให้ผู้อื่นกดจุด นิ้วหัวแม่มือซ้ายขวา กดเบาๆ ไล่ตามแนวสันหลัง
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
กำมือ ข้อนิ้วชี้คลึงหนักๆ ที่ด้านข้างกึ่งกลางศีรษะ 5 วินาที 5 ครั้ง
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
นิ้วหัวแม่มือกดกลางฝ่ามือ กด นับ 3 ; คลาย นับ 3 ; 5 ครั้ง
การตรวจ มะเร็งเต้านมด้วยตนเอง.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
กบ Breast Stroke.
ไดร์เป่าผม เป่าขอบก้นสองข้างให้ทั่ว 1 นาที
เพิ่มความยืดหยุ่นข้อต้นขา
การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน
ครูจรัสศรี พัฒน์ทอง และครูประไพ อิงคะวะระ รายการ “ ดอกไม้กับ ใบไม้ ”
พรพรรณ เจริญวัฒนวิญญู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
คลายกล้ามเนื้อแนวสันหลัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อเสื่อม เรื่องของใคร ผศ. นพ. วิศาล คันธารัตนกุล พบ. FIMS ที่ปรึกษาด้านการออกกำลังกาย กระทรวงสาธารณสุข หัวหน้าศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู รพ. สมิติเวช ศรีนครินทร์

ประเด็น ใช้มากไป ใช้น้อยไป ใช้ผิด ใช้ท่าเดียวนาน ๆ เอ็นอักเสบ เสื่อม กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝืด ตึง ใช้ผิด เสื่อม ใช้ท่าเดียวนาน ๆ ตึง ฝืด เสื่อม

การดูแลข้อ เช้าถึงเย็น การออกกำลังกาย นอน การลุกจากเตียง การนั่งใช้งาน การทำงานอดิเรก/เล่นกีฬา: ลีลาศ กอล์ฟ การเดิน/วิ่งทำให้เข่าเสื่อมหรือไม่ การออกกำลังกาย นอน

การออกกำลังกาย/กิจกรรม เพื่อการเคลื่อนไหวของข้อ: ต้นทุน การใช้ให้ถูกต้อง: เสมอตัว ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและเอ็นรอบข้อ: กำไร

นำต้นทุนคืนมา การออกกำลังกายเพื่อการเคลื่อนไหว กิจกรรม: เคลื่อนไหวข้อนั้น ๆ ทุกทิศ ความถี่: วันละ 2 รอบ ๆ ละ 10 ครั้ง

ท่าเริ่ม ใช้น้ำหนัก (จาก 2 กิโลกรัมถึง 5 กิโลกรัม) รัดที่ข้อเท้าของคุณและนั่งในตำแหน่งที่ขาห้อยได้ (เช่นม้านั่งเก้าอี้หรือสตูลที่สูง ขอบของเตียงนอน) ห้อยเท้าค้างไว้จาก 5 ถึง 15 นาที 1 ถึง 3 ครั้งต่อ 1วัน ทำซ้ำสำหรับเข่าอีกข้าง

นั่งในเก้าอี้และเหยียดเท้าของคุณวางบนเก้าอี้อีกตัวที่วางตรงข้ามคุณ โดยให้เข่างอและสูงขึ้นเล็กน้อย ค่อย ๆ กดเข่าลงอย่างช้า ๆ โดยพยายามใช้กล้ามเนื้อเข่าเท่านั้น ค้างไว้ประมาณ 5วินาทีถึง 10วินาที พักในระหว่างท่าประมาณ 1นาที ทำซ้ำ 10 ครั้ง ทำทุกวันเริ่มจากวันละครั้งจนถึง 3ครั้งต่อ1วัน

นั่งบนพื้นหรือบนที่นอน เหยียดขาตรง และวางผ้าขนหนูม้วนไว้ข้างใต้ข้อเท้า ค่อย ๆ กดเข่าลงกับพื้น ค้างในท่านั้นประมาณ 5วินาทีถึง 10วินาที พักในระหว่างท่าประมาณ 1นาที ทำซ้ำ 10 ครั้ง ทำทุกวันทั้งสองข้างเริ่มจากวันละครั้งจนถึง 3ครั้งต่อ1วัน

ใช้มือจับผ้าขนหนูวางไว้ให้ฝ่าเท้าของคุณ แล้วค่อย ๆ ดึงผ้าขนหนูขึ้นมาช้า ๆ ด้วยมือทั้งสองข้าง ซึ่งจะทำให้เข่างอ โดยพยายามให้สูงจากพื้นประมาณ 4 หรือ 5 นิ้ว ค้างไว้ประมาณ 5 ถึง 10วินาที พักประมาณ 1 นาที และทำซ้ำ 10 ครั้ง ทำทุกวันทั้งสองข้างเริ่มจากวันละครั้งจนถึง 3ครั้งต่อ1วัน

กำไร ทำให้กล้ามเนื้อและเอ็นรอบข้อนั้น ๆ แข็งแรง กิจกรรม: การเกร็งหรือเคลื่อนไหวข้อนั้น ๆ โดยมีการค้างนับ 1-10 น้ำหนัก: การเกร็ง/น้ำหนักที่ยกแล้ว 8-10 ครั้งทำให้กล้ามเนื้อและข้อนั้นเมื่อย

การใช้ให้ถูก การอยู่ท่าเดียวนาน ๆ ทำให้เกิดปัญหา ความปวดคือสิ่งที่ไม่ดี แต่ควรเคารพ หากเลือกได้ ควรใช้ข้อใหญ่ แทนข้อเล็ก วางแผนการทำงาน/ทำกิจกรรมให้ดี ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม

ให้นอนบนพื้นราบ แล้วค่อย ๆ ยกขาขึ้นตรง ๆ ให้ห่างจากฟื้นประมาณ 1ฟุต แล้วค่อย ๆ เคลื่อนไปซ้าย ขวาเป็นรูปตัว T ทำซ้ำ 5 ถึง 10 ครั้ง วันละครั้ง

ยืนหลังอิงหรือชิดกับกำแพง แล้วค่อย ๆ เลื่อนตัวลงช้า ๆ โดยหลังยังอิงหรือชิดกับกำแพงอยู่ โดยให้เลื่อนลงมาจนเข่างอประมาณ 30 องศา หรือ อย่าให้ด้านหน้าของเข่าเกินปลายเท้า แล้วค่อย เลื่อนตัวกลับเข้าที่เดิมช้า ๆ โดยให้เท้าของคุณชี้ไปข้างหน้าหรือแบะออกเล็กน้อย ทำซ้ำจาก 5 ครั้งถึง10 ครั้ง วันละครั้งจนถึง 3 ครั้งต่อ1วัน

ใช้ยางในจักรยานเก่า ๆ หรือยางยืด แล้ววางเท้าบนยางนั้น ค่อย ๆ ดึงเข้าหาตัวจนเข่างอประมาณ 30 องศา แล้วจึงค่อย ๆ เหยียดเข่าออกโดยดันยางยืดออกไป ทำซ้ำจาก 5 ครั้งถึง10 ครั้ง วันละครั้งจนถึง 3ครั้งต่อ1วัน

หลังจากที่เข่าเริ่มแข็งแรงขึ้นแล้ว โดยนั่งแล้วค่อย ๆ เหยียดขึ้นให้สุด แล้วค้างไว้นับ 1 ถึง 5 หรือ 10 ทำซ้ำจาก 5 ครั้งถึง10 ครั้ง วันละครั้งจนถึง 3ครั้งต่อ1วัน

การเดิน/วิ่งทำให้ข้อเสื่อมหรือไม่ การใช้ให้ถูกต้อง การเดิน/วิ่งทำให้ข้อเสื่อมหรือไม่