ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

เลขยกกำลัง.
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
การดำเนินการของลำดับ
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
สับเซตและเพาเวอร์เซต
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Quadratic Functions and Models
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
วงรี ( Ellipse).
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย เลขยกกำลัง ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โดย ครูปรีชา หยีดน้อย โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

เลขยกกำลัง บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก an หมายถึง a  a  a  a  …..  a จำนวน n ตัว เช่น 25 = 2  2  2  2  2 บทนิยาม a0 = 1 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ บทนิยาม a-n = 1/an เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก เช่น 3-2 = 1/32 = 1/9

ตัวอย่าง จงหาค่าของ (2-3x2y4/2x-1)-2 สมบัติของเลขยกกำลัง ทฤษฎีบท เมื่อ a , b เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และ m , n เป็นจำนวนเต็ม 1) am.an = am+n 2) (am)n = amn 3) (ab)n = anbn 4) (a/b)n = an/bn 5) am/an = am-n ตัวอย่าง จงหาค่าของ (2-3x2y4/2x-1)-2

2. รากที่ n ในระบบจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ บทนิยาม เมื่อ x , y เป็นจำนวนจริง y เป็นรากที่สองของ x ก็ต่อเมื่อ y2 = x สมบัติของรากที่สอง 1) เมื่อ x  0 , y  0 2) เมื่อ x  0 , y > 0 ตัวอย่าง จงหาค่าของ วิธีทำ

R โดยที่ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็นศูนย์ 3. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 และ a มีรากที่ n บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง p , q เป็นจำนวนเต็มที่ (p,q) = 1 , q > 0 และ R โดยที่ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็นศูนย์ ตัวอย่าง จงทำให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์

4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล บทนิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ f = {(x,y)RR / y = ax , a>0 , a1} y ข้อสังเกต 1) กราฟของ y = ax ผ่านจุด (0,1) เสมอ 2) ถ้า a > 1 แล้ว y = ax เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3) ถ้า 0 < a < 1 แล้ว y = ax เป็นฟังก์ชันลด 4) y = ax เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R+ 5) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ ax = ay ก็ต่อเมื่อ x = y

5. ฟังก์ชันลอการิทึม จาก f = {(x,y) RR / y = ax , a>0 , a1} ซึ่งเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R+ จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ f-1 = {(x,y) R+R / x = ay , a>0 , a1} จาก x = ay สามารถเขียนในรูป y = f(x) ได้ โดยกำหนดเป็น y = logax เช่น 9 = 32 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 2 = log39 32 = 25 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 5 = log232 บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y) R+R / y = logax , a>0 , a1} เช่น y = log2x , f(x) = log5x

2) ถ้า a > 1 แล้ว y = logax เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3) y = logax เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R+ ไปทั่วถึง R 4) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ logax = logay ก็ต่อเมื่อ x = y

เมื่อ a , M , N เป็นจำนวนจริงบวกที่ a 1 และ k เป็นจำนวนจริง สมบัติของลอการิทึม เมื่อ a , M , N เป็นจำนวนจริงบวกที่ a 1 และ k เป็นจำนวนจริง 1) logaMN = logaM + logaN 2) loga M/ N = logaM – logaN 3) loga Mk = k logaM 4) loga a = 1 5) loga 1 = 0 6) logakM = 1/k logaM 7) logb a = 1/ logab

6. การหาค่าของลอการิทึม ลอการิทึมสามัญ หมายถึงลอการิทึมฐาน 10 ซึ่งนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกำกับ เช่น log107 เขียนแทนด้วย log 7 log1015 เขียนแทนด้วย log 15 พิจารณาค่าของลอการิทึมของจำนวนเต็มที่สามารถเขียนในรูป 10n เมื่อ n I log 10 = log 101 = 1 log 100 = log 102 = 2 log 1000 = log 103 = 3 ดังนั้น log 10n = n

จำนวนจริงบวก N ใดๆ สามารถเขียนในรูป N0x10n ได้เสมอ เมื่อ 1 < N0<10 และ n เป็นจำนวนเต็ม ดังนั้น log N = log (N0x10n) = log N0+ log 10n = log N0 + n log N0 เรียกว่า แมนทิสซา (mantissa) ของ log N n เรียกว่า แคแรกเทอริสติก (characteristic) ของ log N

วิธีทำ เนื่องจาก log 4520 = log (4.52x103) = log 4.52 + log 103 = 0.6551 + 3 = 3.6542 ดังนั้น log 4510 = 3.6551 แมนทิสซาของ log 4520 คือ 0.6551 แคแรกเทอริสติกของ log 4520 คือ 3

ตัวอย่าง กำหนดให้ log N = 2.5159 จงหาค่า N แอนติลอการิทึม ตัวอย่าง กำหนดให้ log N = 2.5159 จงหาค่า N วิธีทำ เนื่องจาก log N = 2.5159 = 0.5159 + 2 = log 3.28 + log 102 = log (3.28x102) = log 328 ดังนั้น N = 328

จะได้ x = by loga x = loga by loga x = y loga b y = 7. การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม กำหนดให้ y = logbx จะได้ x = by loga x = loga by loga x = y loga b y = ดังนั้น logbx = ตัวอย่าง จงหาค่าของ log224

ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithms) ลอการิทึมธรรมชาติ คือลอการิทึมฐาน e เมื่อ e เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ลอการิทึมแบบเนเปียร์” (Napierian Logarithms) ในการเขียนลอการิทึมธรรมชาติจะไม่นิยมเขียนฐานกำกับ ดังนี้ logex เขียนแทนด้วย ln x loge3 เขียนแทนด้วย ln 3 loge20 เขียนแทนด้วย ln 20 การหาค่าลอการิทึมธรรมชาติทำได้โดยการเปลี่ยนฐานให้เป็นลอการิทึมสามัญ ซึ่ง log e = log 2.7182818 = 0.4343 ตัวอย่าง จงหาค่าของ ln 25

8. สมการเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม สมการเอ็กซ์โพเนนเชียล คือสมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง ในการหาคำตอบของสมการ ทำได้โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 2x.22x+1 = 4x-2 วิธีทำ 2x+2x+1 = (22)x-2 23x+1 = 22x-4 จะได้ 3x+1 = 2x-4 x = -5 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {-5} ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 4x + 2x+1 – 24 = 0

สมการลอการิทึม คือสมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การหาคำตอบของสมการทำได้ โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ log2(x-2) + log2(x-3) = 1 วิธีทำ log2(x-2) + log2(x-3) = 1 log2(x-2)(x-3) = log22 จะได้ (x-2)(x-3) = 2 x2- 5x + 4 = 0 (x-1)(x-4) = 0 x = 1 , 4 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {4} เพราะว่า เมื่อตรวจคำตอบ x = 1 หาค่าไม่ได้

สวัสดี