เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
พลังงาน.
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
แผ่นดินไหว.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
Electronic Circuits Design
การระเบิด Explosions.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การหักเหของแสง (Refraction)
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ดาวศุกร์ (Venus).
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
Electronic Circuits Design
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทก

Standing Waves การสั่นพ้อง (Resonance) เมื่อวัตถุถูกกระทำด้วยแรงหรือสัญญาณที่มีความถี่เท่ากับหรือใกล้ เคียงกับความถี่ธรรมชาติ (resonant หรือ natural frequencies) ของวัตถุ วัตถุนั้นจะสั่นด้วยความถี่นั้นและด้วยแอมปลิจูดที่ใหญ่ L และ n = จำนวน loop = จำนวนปฏิบัพ

การสั่นพ้องของเสียง และ Standing Sound Waves คลื่นนิ่งของเสียง กำหนดให้ความยาวท่อ = L ท่อปลายปิด (ท่อปลายเปิด 1 ข้าง) ท่อปลายเปิด (ท่อปลายเปิด 2 ข้าง)

Harmonic & Overtone Overtone เป็นช่วงความถี่ที่สูงกว่าความถี่มูลฐาน (fundamental) Harmonic เป็นชื่อเรียก ความถี่ที่เป็นจำนวนเต็มเท่าของความถี่มูลฐาน

การหาความเร็วของเสียงในอากาศ e = end correction L1

ตัวอย่าง 1 ชายคนหนึ่งปล่อยก้อนหินลงในบ่อน้ำ แล้วได้ยินเสียงที่ก้อนหินตกกระทบน้ำที่เวลา 3 วินาที หลังจากปล่อยก้อนหิน ถ้าวันนั้น อากาศมีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส จงหาความลึกของบ่อน้ำ 1. คิดการตกลงไปของก้อนหิน 2. คิดการเดินทางขึ้นมาของเสียง แทนค่าใน (1) ได้

ตัวอย่างที่ 3 ท่อปลายเปิดทั้งสองข้างยาว 5 ตัวอย่างที่  3   ท่อปลายเปิดทั้งสองข้างยาว 5.9 เมตร  และท่อปลายปิดข้างหนึ่งยาว 3.0 เมตร  ความถี่มูลฐานของคลื่นเสียงที่เกิดจากท่อทั้งสองนี้เมื่อรวมกันจะเกิดบีตส์ที่มีความถี่ 5 เฮิรตซ์  จงหา ความถี่มูลฐานของท่อปลายเปิดสองข้าง และ ท่อปลายเปิดข้างเดียว ความถี่มูลฐาน n=1

ตัวอย่าง 4 มีท่อทรงกระบอกปลายปิดข้างหนึ่งยาวเท่ากัน 2 ท่อ ซึ่งเมื่อทำให้ลำอากาศภายในท่อเกิดการสั่นพบว่าเสียงจากท่อทั้งสองนื้มีความถี่ต่ำสุดเป็น 480 Hz ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส แต่ถ้าอุณหภูมิของอากาศในท่อหนึ่งเปลี่ยนไปเป็น 20 องศาเซลเซียส เมื่อทำให้เกิดเสียงจากท่อทั้งสองนี้พร้อมกันจะเกิดเสียงบีตส์ด้วยค่าความถี่บีตส์กี่ Hz แบ่งการคิดเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้น 1 หาอัตราเร็วเสียงก่อนจาก ขั้น 2 หาความยาวท่อในตอนแรก จาก ขั้น 3 หาความถี่เมื่ออุณหภูมิ 20C จาก ขั้น 4 เทียบกับความถี่ตอนแรกจะเกิด บีตส์ความถี่

อัตราเร็วเสียงในอากาศที่ อุณหภูมิห้อง 25C = 346 ~ 350 m/s ตัวอย่าง 5 โดยปกติคลื่นเสียงจะเข้าสู่ระบบการรับฟังเสียงของหูคนเราโดยผ่านช่องหู (ear canal) ไปตกกระทบเยื่อแก้วหูที่ปลายช่องรูหูซึ่งจะสั่งตามจังหวะของคลื่นเสียงนั้น ช่องรูหูจึงเป็นด่านแรกที่ช่วยขยายสัญญาณสียงที่ผ่านเข้าไป ถ้าความยาวของช่องรูหูของคนทั่วไปมีค่าประมาณ 2.5 cm รับฟังเสียงในภาวะอุณหภูมิห้อง 25C แสดงว่าคนเราจะรับฟังเสียงความถี่ประมาณกี่ Hz ได้ไวเป็นพิเศษ ช่องรูหูเปรียบเสมือนหลอดเรโซแนนซ์ปลายปิด (ด้วยเยื่อแก้วหู) ซึ่งจะเกิดการสั่นพ้อง (ทำให้เสียงดังที่สุด) เมื่อ อัตราเร็วเสียงในอากาศที่ อุณหภูมิห้อง 25C = 346 ~ 350 m/s ดังนั้น ความถี่เสียงที่ควรจะรับได้ไวสุดคือ

ปรากฎการณ์ดอปเพลอร์ (The Doppler Effect) อัตราเร็วของแหล่งกำเนิดมีค่าน้อยกว่าอัตราเร็วเสียง (vs < v) ความถี่ของเสียงที่ได้ยินเปลี่ยนไป เมื่อจุดกำเนิดเสียงหรือผู้ได้รับเสียงเคลื่อนที่ f = ความถี่ของแหล่งกำเนิด, v = อัตราเร็วเสียงซึ่งไม่เปลี่ยนแปลง, vs = อัตราเร็วแหล่งกำเนิด higher wavelength lower frequency lower wavelength higher frequency ด้านหลัง ด้านหน้า

ปรากฎการณ์ดอปเพลอร์ (The Doppler Effect) ความถี่ของเสียงที่ได้ยินเปลี่ยนไป เมื่อจุดกำเนิดเสียงหรือผู้ได้รับเสียง เคลื่อนที่ เสียงแตรรถยนต์เมื่อรถแล่นผ่าน

ปรากฎการณ์ดอปเพลอร์ (The Doppler Effect) 1. จุดกำเนิดเสียง (source) อยู่นิ่งผู้รับเสียง (observer) เคลื่อนที่เข้าหาจุดกำเนิดคลื่น จำนวนหน้าคลื่นที่มาถึงผู้ฟังในช่วงเวลา t f= ความถี่ผู้สังเกตได้รับ f = ความถี่ต้นกำเนิดเสียงส่งออกมา

The Doppler Effect 2. จุดกำเนิดเสียง (source) อยู่นิ่ง ผู้รับเสียง (observer) เคลื่อนที่ ออกห่างจากจุดกำเนิดคลื่น f= ความถี่ผู้สังเกตได้รับ f = ความถี่ต้นกำเนิดเสียงส่งออกมา

The Doppler Effect 3. จุดกำเนิดเสียง (source) เคลื่อนที่ เข้าหาผู้รับเสียง (observer) ที่อยู่นิ่ง ด้านหน้า f= ความถี่ผู้สังเกตได้รับ f = ความถี่ต้นกำเนิดเสียงส่งออกมา

The Doppler Effect 4. จุดกำเนิดเสียง (source) เคลื่อนที่ออกห่างจากผู้รับเสียง (observer) ที่อยู่นิ่ง ด้านหลัง f= ความถี่ผู้สังเกตได้รับ f = ความถี่ต้นกำเนิดเสียงส่งออกมา

The Doppler Effect 5. ทั้งจุดกำเนิดเสียงและผู้รับเสียงเคลื่อนที่เข้าหากันหรือออกจากกัน เคลื่อนที่เข้าหากัน เคลื่อนที่ออกจากกัน สรุป สำหรับ vo วิ่งเข้าเป็น + วิ่งออกเป็น - สำหรับ vs วิ่งเข้าเป็น - วิ่งออกเป็น +

กำแพงเสียง (Sound barrier) เมื่อเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเข้าใกล้อัตราเร็วเสียง หน้าคลื่นของคลื่นเสียงจะเกิดการซ้อนทับกัน ซึ่งกลายเป็นเหมือนกำแพงที่ต้านการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน Chuck Yeager แห่งกองทัพอากาศสหรัฐ เป็นนักบินคนแรกที่สามารถทำให้เกิดการบินเหนือเสียงได้ Animation courtesy of Dr. Dan Russell, Kettering University

vsource < vsound ( Mach 0.7 ) ( Mach 1 - breaking the sound barrier ) vsource > vsound ( Mach 1.4 - Supersonic )

คลื่นกระแทก ( Shock wave)

คลื่นกระแทก ( Shock wave) เมื่อวัตถุบินผ่านกำแพงเสียง (sonic barrier) แล้ว และหลังจากนั้นเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเหนือเสียง (Supersonic)โดยที่ผู้สังเกตุจะไม่ได้ยินเสียง จนกว่าแนวหน้าคลื่นของโคนเสียงจะมาถึง (เครื่องบินอาจบินผ่านผู้สังเกตุไปนานแล้ว) โดยผู้สังเกตจะได้ยินเสียงดังมาก ทำให้เกิดแนวที่เรียกว่า คลื่นกระแทก (shock wave) ขณะที่หน้าคลื่นมากระทบได้ยินเสียงเรียกว่า Sonic boom Animation courtesy of Dr. Dan Russell, Kettering University

คลื่นกระแทก (Shock Waves) ไม่สามารถใช้สมการของดอปเปลอร์ในการหาค่าอัตราเร็วของเสียง หรือ ความถี่ได้ เมื่อตัวกลางเคลื่อนที่เร็วกว่าเสียง คลื่นกระแทกเป็นผลมาจากการที่แหล่งกำเนิดมีความเร็วมากกว่าความเร็วของคลื่น วงกลมในรูปใช้แทนหน้าคลื่นที่ถูกส่งออกมาจากแหล่งกำเนิด

คลื่นกระแทก (Shock Waves) เส้นสัมผัสนั้นลากจาก S ไปยังหน้าคลื่นที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ S ค่ามุมระหว่างเส้นสัมผัสและแนวการเคลื่อนที่นั้นหาได้จากความสัมพันธ์ sin θ = v / vs = 1/M อัตราส่วน M = vs /v เรียกว่า เลขมัค (Mach Number) หน้าคลื่นรูปกรวยที่แผ่ออกมาเรียกว่า shock wave คลื่นกระแทกนั้นมีพลังงานอยู่อย่างหนาแน่นบริเวณผิวของกรวย และ มีการกระจายตัวของแรงดันมหาศาล

Supersonic T-38 Talon Supersonic jet trainer Sonic boom จาก รถTHRUST SSC

ตัวอย่าง 6 คลื่นเสียงมีความถี่ 1000 Hz อัตราเร็ว 330 m/s จงหา ความยาวคลื่นเสียงเมื่อต้นกำเนิดอยู่นิ่ง ถ้าต้นกำเนิด s เคลื่อนที่ไปทางขวามือด้วยอัตราเร็ว vs = 10 m/s จงหาความยาวคลื่นข้างหน้าและข้างหลัง S ถ้าผู้สังเกตหยุดนิ่ง ต้นกำเนิด S วิ่งหนีด้วยอัตราเร็ว 10 m/s ผู้สังเกตจะได้ยินความถี่เท่าใด ถ้าต้นกำเนิด S หยุดนิ่ง ผู้สังเกตวิ่งหนี S ด้วยอัตราเร็ว 10 m/s เขาจะได้ยินความถี่เท่าได ก. ความยาวคลื่น ข.  หน้าต้นกำเนิดคลื่น  หลังต้นกำเนิดคลื่น ค. จาก ง. จาก

จะได้ความถี่ของคลื่นเสียงที่ผู้สังเกตได้รับ ตัวอย่าง 7 ถ้าผู้สังเกตและแหล่งต้นทางต่างเคลื่อนที่เข้าหากันด้วยอัตราเร็ว 20 m/s ในขณะที่แหล่งต้นทางให้คลื่นเสียง ซึ่งมีความถี่ 1000 Hz แผ่ออกไปในอากาศที่มีความหนาแน่น 1.2 kg/m3 และมอดูลัสเชิงปริมาตร 1.3 x 10-4 GPa ความถี่ของคลื่นเสียงที่ผู้สังเกตได้รับจะมีค่าประมาณเท่าใด จาก จะได้ความถี่ของคลื่นเสียงที่ผู้สังเกตได้รับ

ตัวอย่าง 8 ค้างคาวบินด้วยอัตราเร็ว 3. 60 m/s ส่งสัญญาณเสียงความถี่ 35 ตัวอย่าง 8 ค้างคาวบินด้วยอัตราเร็ว 3.60 m/s ส่งสัญญาณเสียงความถี่ 35.0 kHz ไปกระทบผีเสื้อกลางคืนที่เกาะนิ่งอยู่บนต้นไม้ ความถี่ของเสียงที่ผีเสื้อกลางคืนได้รับมีค่าเท่าใด เมื่ออุณหภูมิยามค่ำคืนเป็น20 C

ขณะได้ยินเสียง เครื่องบินอยู่ห่างออกไป (PM) เท่ากับ ตัวอย่าง 9 เครื่องบินลำหนึ่งกำลังบินด้วยอัตราเร็ว 510 m/s โดยรักษาเพดานบินที่ระดับ 104 m ในบริเวณที่อากาศมีอุณหภูมิ 15C ขณะที่ได้ยินเสียงจากเครื่องบิน เครื่องบินลำนี้อยู่ห่างออกไปเท่าไหร่ กำหนดให้อัตราเร็วของคลื่นเสียงในอากาศที่ 0C เท่ากับ 331 m/s จาก ขณะได้ยินเสียง เครื่องบินอยู่ห่างออกไป (PM) เท่ากับ

คลื่นกระแทก (shock wave) สามารถเกิดได้กับคลื่นทั่วไป เช่น คลื่นน้ำ เรือที่แล่นเร็วกว่าคลื่นน้ำ คลื่นเสียง ลูกปืนหรือเครื่องบินที่เคลื่อนที่เร็วกว่าเสียง คลื่นแสง ในอากาศ ไม่เกิดคลื่นกระแทกเพราะไม่มีแหล่งกำเนิดใดเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสง ตัวกลางอื่น ๆ อาจเกิดคลื่นกระแทกของคลื่นแสงได้