Dip.Thai Broad Preventive Medicine

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การดูแลระยะตั้งครรภ์
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Service Plan สาขา NCD.
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
ยาความเสี่ยงสูง ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสหัสขันธ์ 5 มกราคม 2554
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
โรคเอสแอลอี.
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
Myasthenia Gravis.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
โรคคอตีบ (Diphtheria)
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
นายแพทย์สมพงษ์ กิตติพิบูลย์
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
Mental Retardation เด็กปัญญาอ่อน
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
GDM and Cervical cancer screening
Umbilical cord prolapsed
สรุปผลการใช้งบประมาณ 1 Unit 1 Project HP ประจำปีงบประมาณ 2553
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
Wound healing with Whirlpool Whirlpool
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Nipah virus.
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน ตุลาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Dip.Thai Broad Preventive Medicine Eclampsia Dr.Pramote Srikaew MD. Dip.Thai Broad OB-GYN Dip.Thai Broad Preventive Medicine

Hypertensive disorder in pregnancy Gestational hypertension Preeclampsia Eclampsia Chronic Hypertension Superimposed preeclampsia on Chronic HT

Eclampsia ภาวะครรภ์เป็นพิษร่วมกับมีการชัก เกิดได้ทั้งใน mild และ severe preeclampsia ชักประมาณ 60-90 วินาที เกิดขึ้นใน third trimester ทั้งในระยะ antepartum 53% , intrapartum 19% และpostpartum 28% Late eclampsia ชักได้ถึง 48 ชั่วโมงหลังคลอด

ความเสี่ยง รกรอกตัวก่อนกำหนด(abruptio placeta) การทำงานของระบบประสาทผิดปกติ ปอดบวมน้ำ(pulmonary edema) ไตวาย Embolism Circulatory failure

ลักษณะทางคลินิก ถ้าชักบ่อย ทำให้ coma, brain edema Generalized tonic-clonic seizure กล้ามเนื้อเกร็งสลับกับคลายประมาณนาที แล้วกล้าเนื้อคลายตัว ถ้าชักบ่อย ทำให้ coma, brain edema อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เขียว มีไข้ได้ ปัสสาวะออกน้อย อาการบวม ความดันโลหิตสูง proteinuria จะเป็นปกติภายใน 1-2 สัปดาห์

ลักษณะทางคลินิก หัวใจล้มเหลว ปอดบวมน้ำ ตาบอด หรือ มองไม่ชัด 10% จาก retinal detachment หรือ occipital pole infarction Psychosis ตายจาก intracranial hemorrhage หรือ trantentorial herniation ทารก อาจมี fetal bradycardia ได้ในช่วงชัก แต่ถ้ามีตลอดให้ระวัง รกลอกตัวก่อนกำหนด

การรักษา Eclampsia การป้องกันชัก ลดความดันโลหิตสูง การให้สารน้ำ การยุติการตั้งครรภ์

การป้องกันชัก Magnesium sulfate ตามตารางการให้ยา ภาวะแทรกซ้อน ระดับในเลือด(meq/l) ระดับป้องกันชัก 4-7 Deep tendon reflex หายไป 10-12 กดการหายใจ(respiratory depression) >15 Cardiac arrest >25 Antidote ; calcium gluconate 10 cc. iv. push ช้า

ข้อควรระวังในการให้ MgSO4 ถ้าไตเสื่อม ไม่ต้องปรับ loading dose และแต่ให้ maintenance dose น้อยกว่า 1 กรัมต่อชั่วโมง ถ้าชักซ้ำ ให้ MgSO4 เพิ่มอีก 2 กรัม ในรายที่ให้ MgSO4 ไม่ได้ เช่นเป็นโรคไตรุนแรง myasthenia gravis หรือ PPH อาจพิจารณาให้ phenytoin diazepam5-10 mg.หรือ lorazepam 4 mg หรือ pentobarbital 125 mg. iv. 2-5 นาที

การให้ยาลดความดันโลหิต ในรายที่ BP> 150/100 mmHg เพื่อให้ได้ เป้าหมาย DBP 80-100 mmHg, SBP <150 mmHg. Antehypertensive drug เช่น Labeterol 20 mg iv. then 20-80 mg iv. q 30 min. ( i.v. drip 1-2 mg/min) max 300 mg/day Hydralazine(C) 5mg.iv. or im. Then 5-10 mg iv. q 20-40 min( iv. drip 0.5-10 mg/hr.) Nifedipine (c ) 10-30 mg oral prn q 45 min.

การควบคุมปริมาณสารน้ำในร่างกาย จำกัดสารน้ำ ไม่เกิน 80 cc/hr. ยกเว้น ขาดน้ำหรือ ตกเลือด ไม่ควรให้ fluid expansion invasive hemodynamic monitoring ในราย pulmonary edema , severe kidney disease , refractory hypertension, ปัสสาวะออกน้อย

การยุติการตั้งครรภ์ เป็นข้อห้ามในการดูแลแบบประคับประคอง (expectant management) เลือกช่องทางคลอดให้เหมาะสมในแต่ละราย

การดูแลระยะหลังคลอด เฝ้าระวังอาการชักภายหลังคลอด ในรายที่ไม่ได้ความยาลดความดันโลหิตช่วงตั้งครรภ์ ในรายที่ได้ยาลดความดันโลหิตขณะเจ็บครรภ์คลอด วัด BP ทุกวันอย่างน้อย 2 สัปดาห์ จนเป็นปกติ เริ่มให้ยาลดความดันโลหิต เมื่อ BP 150/100 mmHg ในรายที่ได้ยาลดความดันขณะตั้งครรภ์ ให้ยาลดความดันโลหิตต่อ เป้า BP<130/90 mmHg ให้เปลี่ยน methyldopa เป็น labeterol, nifedipine, enalapril, atenolol , metropolol ได้

การติดตามหลังคลอด กรณีใช้ยาลดความดันโลหิตต่อเกิน 6 สัปดาห์ ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ นัดติดตามหลังคลอด 6-8 สัปดาห์