บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ ฟิสิกส์ ควอนตัม 1 Thermal Radiation 2 Photoelectric Effect 3 Compton Effect
1 Thermal Radiation การที่จะอธิบายปรากฎการณนี้เชิงทฤษฎีให้สอดคล้องกับผลการทดลอง Planck ได้เสนอว่าระดับพลังงานที่เกี่ยวข้องในการแผ่รังสีจะเป็นช่วง ๆ ไม่ต่อเนื่องกันตามสมการ
n : Quantum number h : Planck constant : ความถี่
และการแผ่รังสีความร้อน
k : Boltzmann’s constant
ซึ่งสามารถอธิบาย ผลการทดลอง ได้สอดคล้องกับ
1.1 Stefan - Boltzman Law บอกความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานของ การแผ่รังสีต่อพื้นที่กับ อุณหภูมิของผิว วัตถุที่แผ่รังสี
1.2 Spectral Radiancy บอก ถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง การแปรเปลี่ยนของความเข้มของการแผ่รังสีกับความยาวคลื่น
1.3 The Wien displacement Law บอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างวามยาว คลื่นสูงสุด กับ ส่วนกลับ ของ อุณหภูมิ
2 Photoelectric Effect ความรู้ทางฟิสิกส์ในช่วงก่อนหน้าทฤษฎีควอนตัมไม่สามารถ อธิบายได้ว่า
ก. ทำไม พลังงานของอิเล็กตรอนที่ ได้จึงไม่ขึ้นกับความเข้มแสงที่ตกกระทบ ข. ทำไมการเกิดปรากฎการณ์นี้จึงขึ้นกับความถี่ของแสง
ค. ทำไมปรากฎการณ์นี้ จึงเกิด ขึ้นทันที โดย ที่ไม่ต้องรอให้ พลังงานค่อย ๆ สะสมจนเพียงพอ แล้วจึงปล่อยอิเล็กตรอนออกมา
ซึ่งไอน์สไตน์ได้เสนอทฤษฎีขึ้นมาว่า แสงมีพฤติกรรมเป็น อนุภาค เรียกว่า โฟตอน มีพลังงาน
และอธิบายปรากฎการณ์ Photoelectric Effect ด้วยสมการ
work function ในการปลดปล่อยอิเล็กตรอน พลังงานจลน์ที่ ของอิเล็กตรอน
stopping potential(Vo )
ถ้า เอา ค่า Vo คูณกับประจุ e เป็น eVo ค่า eVo นี้จะมี ค่า เท่ากับ พลังงานจลน์ สูงสุด Kmax ของ อิเล็กตรอนที่หลุดจาก ผิว โลหะ
3. Compton Effect ยืนยัน ว่า แสงมีพฤติกรรมของ อนุภาคจริง เนื่องจากเมื่อใช้ X - rays ยิงไปยังเป้าที่ทำ ด้วย กราไฟต์ แ ล้ว จะเกิด การ กระเจิงขึ้น คล้ายกับผลของการชนกันของอนุภาคหรือ ลูกบิลเลียดชนกัน
นั่น คืออนุภาคของแสงหรือ X - rays ชน กับอิเล็กตรอน แล้วเกิดการถ่ายทอดพลังงานในระหว่างการชน ทำให้ l ที่ วัดได้จากการกระเจิงไม่ได้ มีค่า เดียว
ความยาวคลื่นของแสงที่เปลี่ยนไป จะขึ้นกับมุ ม ของการกระเจิง m : มวลของ อิเล็กตรอน