การสืบพันธุ์ของพืช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

ส่วนประกอบของดอก อรพร ยามโสภา Science:Plant_2 Oraporn Yamsopa.
เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
การสืบพันธุ์ของพืช.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
เรื่อง พืชดอก โดย.. นางสาวสุมาลี ลีประโคน ครู คศ.1
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Physiology of Crop Production
โครโมโซม.
การปลูกผักในกระถาง คณะผู้จัดทำ.
Cell Specialization.
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
พืชตระกูลสน Gymnospermae
การสืบพันธุ์ของพืช.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
การจำแนกพืช.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
ดอกไม้ที่ฉันสำรวจ ด.ช.คู่ฝัน พลังคิด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
7.Cellular Reproduction
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ( เพิ่มเติม ) ว 40243
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ความหลากหลายของพืช.
การสำรวจผีเสื้อกลางวัน
มาเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
การเจริญเติบโตของพืช
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ปลาหางนกยูง.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Kingdom Plantae.
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ Reproduction.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสืบพันธุ์ของพืช

การสืบพันธุ์ของพืช Pollination Fertilization Plant Seed

การสืบพันธุ์ของพืช Pollination การถ่ายละอองเกสรของดอกไม้ ละอองเกสรตัวผู้ไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย

การสืบพันธุ์ของพืช Fertilization ละอองเกสรตัวผู้งอกลงไปผสมกับไข่ของต้นแม่ เกิดการรวมตัวกันที่เรียกว่า double fertilization

โครงสร้างของดอกไม้ ดอกไม้ประกอบด้วย กลีบดอก: sepal, petal ชั้นเกสร: เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย

โครงสร้างของดอกไม้ ดอกสมบูรณ์ (complete flower) ดอกไม้ที่มีชั้นของกลีบดอกครบ ประกอบด้วย ชั้นรองดอก (receptacle), กลีบดอก (sepal and petal), เกสรตัวผู้ และ เกสรตัวเมีย (stamen and pistil)

โครงสร้างของดอกไม้ ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect flower) ดอกที่มีชั้นของเกสรตัวผู้และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน

เกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้ กลีบดอก กลีบเลี้ยง

สัณฐานวิทยาของดอกไม้ เป็นตัวกำหนดวิธีการถ่ายละอองเกสรของดอกไม้ ทำให้แบ่งดอกไม้ออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ด้วยกัน ผสมตัวเอง (selfed pollination) ผสมข้าม (crossed pollination)

พืชผสมตัวเอง ผสมตัวเองก่อนดอกบาน - ไม่บาน (cleistogamy) e.g. violet, impatien - บาน (chasogamy) e.g. lettuce, tomato, rice, beans

พืชผสมข้าม เกสรตัวผู้และตัวเมียไม่อยู่ในภาวะที่จะผสมตัวเองได้เนื่องมาจาก ตัวผู้และตัวเมียอยู่กันคนละดอกบนต้นเดียวกัน (monoecious) e.g. corn, begonia ขนุน

พืชผสมข้าม 2. ตัวผู้และตัวเมียอยู่กันคนละดอกในแต่ละต้น (dioecious) e.g. อินทผาลัม หน่อไม้ฝรั่ง ผักปวยเล้ง

พืชผสมข้าม 3. ตัวผู้และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกันแต่มีความพร้อมในการผสมพันธุ์ในเวลาที่ต่างกัน protogyny ตัวเมียพร้อมผสมก่อน e.g. หน้าวัว เดหลี

pistillate pollen

พืชผสมข้าม protandry ตัวผู้พร้อมผสมก่อน e.g. lettuce แครอท 4. อื่นๆ ชบา เกสรตัวเมียชูอยู่เหนือเกสรตัวผู้

พืชผสมข้าม Aglonema เกสรตัวเมียถูกห่อหุ้มด้วยฐานรองดอก ลิ้นจี่ ลำไย อุณหภูมิมีผลต่อการเกิดเพศของดอก

ray flower disc flower

การถ่ายละอองเกสร การปรับปรุงพันธุ์ ต้องการสร้างสายพันธุ์ใหม่ให้เป็นไปตามที่ต้องการ พืชผสมตัวเอง ป้องกันไม่ให้มีการผสมตัวเอง พืชผสมข้าม ต้องมั่นใจว่าไม่มีการแปดเปื้อนจากต้นที่ไม่ต้องการ

การถ่ายละอองเกสร การตอน (emusculation) การทำหมัน โดยการตัดเอาส่วนของเกสรตัวผู้ออกก่อน เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีการผสมตัวเอง ในกรณีของพืชผสมข้าม ต้องเอาถุงครอบไว้ก่อน ไม่ให้มีการถ่ายละอองเกสร

การถ่ายละอองเกสร

การถ่ายละอองเกสร

การถ่ายละอองเกสร

การถ่ายละอองเกสร

การผสมพันธุ์ Pollination Fertilization ก่อนการถ่ายละอองเกสรมี 2 ขบวนการที่เกิดขึ้นในพืช การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย

การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ microsporogenesis 2n Microspore (n 4 อัน) n 1 อัน = pollen 2 nuclei 1/2 generative cells meiosis mitosis mitosis

การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย megasporogenesis 2n egg cell 1 ใบ meiosis Mitosis 2 times antipodal Polar nuclei egg synergids

การผสมพันธุ์ generative cells เข้าสู่ micropyle ตัวที่หนึ่ง ผสมกับ egg zygote ตัวที่สองผสมกับ polar nuclei ไปเป็น endosperm เกิด double fertilization

การถ่ายละอองเกสร ลม น้ำ แมลง สัตว์ เช่น นก หนู คน

ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายละอองเกสร ปัจจัยภายใน 1.1 ยีน พืชบางชนิดมียีนควบคุม พบในพืชพวก dioecy มียีน M ทำหน้าที่ควบคุม Mm เป็นตัวผู้ mm เป็นตัวเมีย

ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายละอองเกสร 1.2 ความเข้ากันไม่ได้ของเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย (self incompatibility) เป็นผลเนื่องมาจากโปรตีน แบ่งเป็น 2 ประเภทด้วยกัน gametophytic incompatibility Sporophytic incompatibility

Gametophytic incompatibility โปรตีนที่ยอดเกสรตัวเมียเหมือนกับโปรตีนที่มาจากเกสรตัวผู้ เฉพาะตัวที่มีโปรตีนเหมือนกัน S1S2 x S1S2 ไม่ได้ S1S2 x S2S3 ได้ ได้ S1S3 เท่านั้น การทำงานเป็นอิสระ

sporophytic incompatibility โปรตีนที่ยอดเกสรตัวเมียกับโปรตีนที่มาจากเกสรตัวผู้ มีการข่มกัน S1>S2>S3>S4 S1S2 x S1S2, S1S3 x S1S2ไม่ได้ S2S3 x S1S2 ได้ เพราะ S1 ของต้นพ่อ สามารถข่ม S2 และ S3 ของต้นแม่ได้

ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายละอองเกสร 2. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการผสมพันธุ์ของพืช อุณหภูมิ ลม แสงแดด ความชื้น และฝน