แนวคิดสำหรับการใช้ระบบสารสนเทศในสโมสร-ชมรมเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ผลิตสินค้าและบริการ.
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การกำหนดแผนงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
Evaluation of Thailand Master Plan
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดสำหรับการใช้ระบบสารสนเทศในสโมสร-ชมรมเกษตร อรรถชัย จินตะเวช ศูนย์สารสนเทศและการประกันคุณภาพการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ข้อมูลที่น่าสนใจใน USA: $100,000 ต่อนักเรียนจบ ม.ปลาย มีนักเรียน ม.ปลายไม่จบการศึกษา 500,000 คนต่อปี นักโทษ 2 ล้านคน เป็นนักเรียน ม.ปลายไม่จบการศึกษา 1.66 ล้านคน นักโทษ 1 คน ใช้เงินเลี้ยงดู $25,000 ต่อปี

ยุคและคลื่นทั้งสามลูก ยุค/คลื่น เวลา กิจกรรมมนุษย์ ยุคหิน 1,000,000 BC- 6,000 BC ล่าสัตว์-เก็บอาหาร เกษตรกรรม 6,000 BC – 1750 AD เขตกรรม+เลี้ยงสัตว์+ประมง+ป่าไม้ อุตสาหกรรม 1750 AD - 1975 AD ทำงานในโรงงาน ข้อมูล/ข่าวสาร 1975 เป็นต้นมา สร้าง-ใช้-วิเคราะห์-สื่อสาร ข้อมูล

เปรียบเทียบร้อยละของผลิตภาพ (Productivity) ต่อคนทำงานหนึ่งคน ระหว่างปี 1900-2000 การเกษตร 1200% อุตสาหกรรม 600% การศึกษา - 200% http://www.coe.ilstu.edu/rpriegle/welcome.htm

ผลผลิตข้าว (กิโลกรัม/ไร่) และประชากร 800 CM = 1.6 Million 400 Thailand KK = 1.8 Million ๐ 1974 1984 1994 2001 OAE, 1975-2001

เรื่องมันมีอยู่ว่า: การพัฒนาและการใช้ระบบสารสนเทศฯ มีพื้นฐานบนงาน งาน-หน้าที่ของเรา ระดับสโมสร-ชมรม-บุคลากรในแต่ละหน่วยงาน นิเวศวิทยาสารสนเทศ (Information Ecology) ทำสโมสร-ชมรมของนักศึกษาเกษตรให้เป็นองค์กรการเรียนรู้ร่วมกัน สรุป

งานของเรา

งานของคณะฯ ให้การศึกษาแบบให้ปริญญาบัตร ระดับ ตรี โท เอก (สอน) พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ โดยกระบวนการวิจัย (วิจัย) ให้บริการวิชาการ แบบไม่ให้ปริญญาบัตร(บริการวิชาการ-คน) อื่น ๆ ตามที่รัฐบาล-จังหวัด-มหาวิทยาลัย-คณะฯ มอบหมาย

งานขององค์กร ชมรม ภาคการศึกษาที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒ ภาคฤดูร้อน ปิดภาคการศึกษาที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒ ปิดภาคการศึกษาที่ ๒ ภาคฤดูร้อน

ถามว่าทำงานแล้วมีปัญหาไหม? มีแน่นอน แต่เป็นปัญหา (สภาพที่ไม่พึงต้องการ) ตามเป้าหมาย-วัตถุประสงค์ของคณะฯ มหาฯ จะมีการแก้ไขอย่างไร ทางแก้แต่ละทางมีผลกระทบ (consequence) อย่างไร และ ต้องใช้ข้อมูล-ข่าวสาร-องค์ความรู้ เกี่ยวกับ คน ธรรมชาติขององค์กร ต้องมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพ ตามเวลา

จะต้องมียุทธศาสตร์ เป็นการคิด-ดำเนินการที่มีโครงสร้างเพื่อให้ได้ตามจุดประสงค์ว่าสโมสร ชมรม ของเราจะเป็นอย่างไรในเวลา ๓-๕ ปี ต้องเตรียมคนในองค์กร -นักศึกษา ใช้กรอบดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ต้องใช้ข้อมูล-ข่าวสาร-องค์ความรู้ เกี่ยวกับ คน ธรรมชาติขององค์กร

Information Ecology (InfoEcology)

หลักการของ InfoEcology ใช้สารสนเทศในการทำแผน-ปฏิบัติงาน-ประเมินผลงาน-ปรับปรุงงานต่อไป ทุกท่านใช้ระบบในการตัดสินใจทำตามหน้าที่ ใช้เสริม-สนับสนุนบุคลากร ไม่ใช่การทดแทน ใช้ทำงานเมื่อประสบปัญหาแบบ วัน-ต่อ-วัน ระยะกลาง และระยะยาว

องค์ประกอบ InfoEcology ผู้ใช้งาน สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร งาน-ข่าวสาร-เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมขององค์กร งาน-โครงสร้าง-เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมข้อมูล-ข่าวสาร (Information Environment) Strategy, Politics, Culture, Staff, Process, Architecture

ประโยชน์ของ InfoEcology ปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ระยะกลาง-ยาว ช่วยการสื่อสารของบุคลากร ส่งเสริมการเรียนรู้และการฝึกอบรม สนับสนุนการพัฒนาองค์กร ยกระดับมาตรฐาน

ข้อควรระวังของ InfoEcology ด้านการออกแบบ (Design Flaws) การกำหนดและการสร้างความเข้าใจหน้าที่ของบุคลากรทุกท่านในองค์กร ต้องลงทุนเรื่องเครื่องมือต่อเนื่อง ทุนสูง และเป็นเวลานาน กว่าจะเห็นผล

ทำสโมสร-ชมรมของนักศึกษาเกษตรให้เป็นองค์กรการเรียนรู้ร่วมกัน

หลัก ๆ คือ ใช้บันทึกงาน-หน้าที่ของเรา ขององค์กรนักศึกษา ของชมรมต่าง ๆ สนับสนุนการร่วมงานของนักศึกษาทุกคน มีการจัดลำดับความสำคัญของงาน ใช้เพื่อสนับสนุน ไม่ใช้เพื่อทดแทนบุคลากร มีการพัฒนาต่อเนื่อง ตามเนื้องานขององค์กรของเรา เชื่อมกับของมหาวิทยาลัย ของความก้าวหน้าองค์ความรู้ทางการเกษตร

จะทำอย่างไร เริ่มจากทำระบบด้วยกัน ทำร่วมกัน หารือ คิด ขีดเขียน ร่วมกัน และหารือ รองคณบดี, ผู้ช่วยฯ คณาจารย์ ทำไปทีละน้อย ค่อยๆ ทำ ทำในส่วนที่ น.ศ.เกษตรส่วนใหญ่ร่วมทำได้ เพราะเหนื่อยน้อย เบื้องต้นใช้กรอบประกันคุณภาพฯ ขยายเป็นเรื่องงานตามต่าง ๆ ของสโมสร ชมรม กิจกรรมของเรา

แนวในการร่วมกันทำ ช่วยกันสร้างโครงการเพื่อพัฒนานักศึกษา เก็บหลักฐานการดำเนินงาน แผน รายภาคการศึกษา รายปี และรายหลายปี การดำเนินงาน การประเมินผลการดำเนินงาน การปรับปรุง สร้างตัวอย่างใหม่ ๆ ให้เป็นที่ประจักษ์ต่อ น.ศ. เกษตร สถาบันอื่น ๆ ในด้านกิจกรรม สโมสร ชมรม ฯลฯ

สรุป

สรุป ๑: งาน-หน้าที่ของเรา องค์การนักศึกษา ชมรมเกษตร นิเวศวิทยาสารสนเทศ (Information Ecology) ทำให้งานของเราดีขึ้น ต่อเนื่อง เป็นธรรมชาติ สนุก และใช้งานได้ต่อไป สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับสังคมนักศึกษาเกษตร ม.เชียงใหม่ สร้างความเข้าใจที่ดีให้แก่ผู้ปกครอง และนักศึกษาใหม่ บัณฑิตใหม่ ฯลฯ เหมือนดูแลสุขภาพตนเอง

สรุป ๒: I hear, I forget I see, I remember I do, I understand