แนวคิดสำหรับการใช้ระบบสารสนเทศในสโมสร-ชมรมเกษตร อรรถชัย จินตะเวช ศูนย์สารสนเทศและการประกันคุณภาพการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อมูลที่น่าสนใจใน USA: $100,000 ต่อนักเรียนจบ ม.ปลาย มีนักเรียน ม.ปลายไม่จบการศึกษา 500,000 คนต่อปี นักโทษ 2 ล้านคน เป็นนักเรียน ม.ปลายไม่จบการศึกษา 1.66 ล้านคน นักโทษ 1 คน ใช้เงินเลี้ยงดู $25,000 ต่อปี
ยุคและคลื่นทั้งสามลูก ยุค/คลื่น เวลา กิจกรรมมนุษย์ ยุคหิน 1,000,000 BC- 6,000 BC ล่าสัตว์-เก็บอาหาร เกษตรกรรม 6,000 BC – 1750 AD เขตกรรม+เลี้ยงสัตว์+ประมง+ป่าไม้ อุตสาหกรรม 1750 AD - 1975 AD ทำงานในโรงงาน ข้อมูล/ข่าวสาร 1975 เป็นต้นมา สร้าง-ใช้-วิเคราะห์-สื่อสาร ข้อมูล
เปรียบเทียบร้อยละของผลิตภาพ (Productivity) ต่อคนทำงานหนึ่งคน ระหว่างปี 1900-2000 การเกษตร 1200% อุตสาหกรรม 600% การศึกษา - 200% http://www.coe.ilstu.edu/rpriegle/welcome.htm
ผลผลิตข้าว (กิโลกรัม/ไร่) และประชากร 800 CM = 1.6 Million 400 Thailand KK = 1.8 Million ๐ 1974 1984 1994 2001 OAE, 1975-2001
เรื่องมันมีอยู่ว่า: การพัฒนาและการใช้ระบบสารสนเทศฯ มีพื้นฐานบนงาน งาน-หน้าที่ของเรา ระดับสโมสร-ชมรม-บุคลากรในแต่ละหน่วยงาน นิเวศวิทยาสารสนเทศ (Information Ecology) ทำสโมสร-ชมรมของนักศึกษาเกษตรให้เป็นองค์กรการเรียนรู้ร่วมกัน สรุป
งานของเรา
งานของคณะฯ ให้การศึกษาแบบให้ปริญญาบัตร ระดับ ตรี โท เอก (สอน) พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ โดยกระบวนการวิจัย (วิจัย) ให้บริการวิชาการ แบบไม่ให้ปริญญาบัตร(บริการวิชาการ-คน) อื่น ๆ ตามที่รัฐบาล-จังหวัด-มหาวิทยาลัย-คณะฯ มอบหมาย
งานขององค์กร ชมรม ภาคการศึกษาที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒ ภาคฤดูร้อน ปิดภาคการศึกษาที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒ ปิดภาคการศึกษาที่ ๒ ภาคฤดูร้อน
ถามว่าทำงานแล้วมีปัญหาไหม? มีแน่นอน แต่เป็นปัญหา (สภาพที่ไม่พึงต้องการ) ตามเป้าหมาย-วัตถุประสงค์ของคณะฯ มหาฯ จะมีการแก้ไขอย่างไร ทางแก้แต่ละทางมีผลกระทบ (consequence) อย่างไร และ ต้องใช้ข้อมูล-ข่าวสาร-องค์ความรู้ เกี่ยวกับ คน ธรรมชาติขององค์กร ต้องมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพ ตามเวลา
จะต้องมียุทธศาสตร์ เป็นการคิด-ดำเนินการที่มีโครงสร้างเพื่อให้ได้ตามจุดประสงค์ว่าสโมสร ชมรม ของเราจะเป็นอย่างไรในเวลา ๓-๕ ปี ต้องเตรียมคนในองค์กร -นักศึกษา ใช้กรอบดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ต้องใช้ข้อมูล-ข่าวสาร-องค์ความรู้ เกี่ยวกับ คน ธรรมชาติขององค์กร
Information Ecology (InfoEcology)
หลักการของ InfoEcology ใช้สารสนเทศในการทำแผน-ปฏิบัติงาน-ประเมินผลงาน-ปรับปรุงงานต่อไป ทุกท่านใช้ระบบในการตัดสินใจทำตามหน้าที่ ใช้เสริม-สนับสนุนบุคลากร ไม่ใช่การทดแทน ใช้ทำงานเมื่อประสบปัญหาแบบ วัน-ต่อ-วัน ระยะกลาง และระยะยาว
องค์ประกอบ InfoEcology ผู้ใช้งาน สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร งาน-ข่าวสาร-เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมขององค์กร งาน-โครงสร้าง-เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมข้อมูล-ข่าวสาร (Information Environment) Strategy, Politics, Culture, Staff, Process, Architecture
ประโยชน์ของ InfoEcology ปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ระยะกลาง-ยาว ช่วยการสื่อสารของบุคลากร ส่งเสริมการเรียนรู้และการฝึกอบรม สนับสนุนการพัฒนาองค์กร ยกระดับมาตรฐาน
ข้อควรระวังของ InfoEcology ด้านการออกแบบ (Design Flaws) การกำหนดและการสร้างความเข้าใจหน้าที่ของบุคลากรทุกท่านในองค์กร ต้องลงทุนเรื่องเครื่องมือต่อเนื่อง ทุนสูง และเป็นเวลานาน กว่าจะเห็นผล
ทำสโมสร-ชมรมของนักศึกษาเกษตรให้เป็นองค์กรการเรียนรู้ร่วมกัน
หลัก ๆ คือ ใช้บันทึกงาน-หน้าที่ของเรา ขององค์กรนักศึกษา ของชมรมต่าง ๆ สนับสนุนการร่วมงานของนักศึกษาทุกคน มีการจัดลำดับความสำคัญของงาน ใช้เพื่อสนับสนุน ไม่ใช้เพื่อทดแทนบุคลากร มีการพัฒนาต่อเนื่อง ตามเนื้องานขององค์กรของเรา เชื่อมกับของมหาวิทยาลัย ของความก้าวหน้าองค์ความรู้ทางการเกษตร
จะทำอย่างไร เริ่มจากทำระบบด้วยกัน ทำร่วมกัน หารือ คิด ขีดเขียน ร่วมกัน และหารือ รองคณบดี, ผู้ช่วยฯ คณาจารย์ ทำไปทีละน้อย ค่อยๆ ทำ ทำในส่วนที่ น.ศ.เกษตรส่วนใหญ่ร่วมทำได้ เพราะเหนื่อยน้อย เบื้องต้นใช้กรอบประกันคุณภาพฯ ขยายเป็นเรื่องงานตามต่าง ๆ ของสโมสร ชมรม กิจกรรมของเรา
แนวในการร่วมกันทำ ช่วยกันสร้างโครงการเพื่อพัฒนานักศึกษา เก็บหลักฐานการดำเนินงาน แผน รายภาคการศึกษา รายปี และรายหลายปี การดำเนินงาน การประเมินผลการดำเนินงาน การปรับปรุง สร้างตัวอย่างใหม่ ๆ ให้เป็นที่ประจักษ์ต่อ น.ศ. เกษตร สถาบันอื่น ๆ ในด้านกิจกรรม สโมสร ชมรม ฯลฯ
สรุป
สรุป ๑: งาน-หน้าที่ของเรา องค์การนักศึกษา ชมรมเกษตร นิเวศวิทยาสารสนเทศ (Information Ecology) ทำให้งานของเราดีขึ้น ต่อเนื่อง เป็นธรรมชาติ สนุก และใช้งานได้ต่อไป สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับสังคมนักศึกษาเกษตร ม.เชียงใหม่ สร้างความเข้าใจที่ดีให้แก่ผู้ปกครอง และนักศึกษาใหม่ บัณฑิตใหม่ ฯลฯ เหมือนดูแลสุขภาพตนเอง
สรุป ๒: I hear, I forget I see, I remember I do, I understand