แนวคิดการดำเนินงานจริยธรรม โครงการประเมินพฤติกรรมเชิงจริยธรรมด้วยตนเอง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคลองลานจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2551.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการเพราะรักจึงไม่อยากให้สูบบุหรี่
Advertisements

สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
โครงการครอบครัวอบอุ่นชุมชนแข็งแรง โครงการความร่วมมือระหว่าง
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
ชุมนุม YC.
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานและการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
๑. ด้านส่งเสริมจิตสำนึกราชการใสสะอาด
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
มาตรฐานการควบคุมภายใน
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กรอบความคิดของ กลุ่ม 7 งานตามพันธกิจกรมอนามัย. Health Index สร้าง Health Agenda : ในชีวิตประจำวัน ( ถูก / ไม่ถูก, เกิดแล้ว / ยังไม่เกิด, จวนจะเกิด / กำลังจะเกิด.
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
การสุขศึกษา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาตรฐานงานสุขศึกษา

แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดการดำเนินงานจริยธรรม โครงการประเมินพฤติกรรมเชิงจริยธรรมด้วยตนเอง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคลองลานจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2551

แผนงานจริยธรรม อำเภอคลอง ลาน ปี โครงการประเมินพฤติกรรมเชิงจริยธรรมด้วยตนเอง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ปี โครงการพัฒนาจริยธรรมของข้าราชการและลูกจ้าง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2551

โครงการประเมินพฤติกรรม จริยธรรมด้วยตนเอง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ข้าราชการและลูกจ้างในสังกัด ได้ ทำการสำรวจพฤติกรรม เชิงจริยธรรมด้วยตนเอง 5 ด้าน คือ เชิงจริยธรรมด้วยตนเอง 5 ด้าน คือ 1.1 ด้านกล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 1.2 ด้านซื่อสัตย์รับผิดชอบ 1.3 ด้านโปร่งใสตรวจสอบได้ 1.4 ด้านไม่เลือกปฏิบัติ 1.5 ด้านมุ่งผลสัมฤทธิ์ในงาน

โครงการประเมินพฤติกรรม จริยธรรมด้วยตนเอง 2. เพื่อสนับสนุนให้ข้าราชการและลูกจ้างใน สังกัด มีการพัฒนาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมด้วย ตนเอง มีการพัฒนาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมด้วย ตนเอง

โครงการประเมินพฤติกรรม จริยธรรมด้วยตนเอง เป้าหมาย ข้าราชการและลูกจ้าง ในสังกัดสำนักงาน สาธารณสุขอำเภอคลองลาน มีพฤติกรรมเชิง จริยธรรม ทั้ง 5 ด้าน ในระดับสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

โครงการประเมินพฤติกรรม จริยธรรมด้วยตนเอง วิธีดำเนินการ กำหนดรหัสประจำตัวข้าราชการและลูกจ้าง เพื่อรักษาความลับของผลการประเมิน รายบุคคล กำหนดรหัสประจำตัวข้าราชการและลูกจ้าง เพื่อรักษาความลับของผลการประเมิน รายบุคคล ประกาศนโยบายสนับสนุนให้ข้าราชการและ ลูกจ้างทุกคน สามารถขอเข้าร่วมกิจกรรม ด้านพัฒนาจริยธรรม ของหน่วยงานหรือ หน่วยงานอื่นได้ตามสมัครใจ ประกาศนโยบายสนับสนุนให้ข้าราชการและ ลูกจ้างทุกคน สามารถขอเข้าร่วมกิจกรรม ด้านพัฒนาจริยธรรม ของหน่วยงานหรือ หน่วยงานอื่นได้ตามสมัครใจ

ให้ข้าราชการและลูกจ้างทำแบบประเมิน พฤติกรรมเชิงจริยธรรม เป็นระยะๆ และแจ้ง ให้ทุกคนรับทราบผลการประเมิน โดยใช้ แบบประเมินพฤติกรรมเชิงจริยธรรม ของ สำนักงาน กพ. ให้ข้าราชการและลูกจ้างทำแบบประเมิน พฤติกรรมเชิงจริยธรรม เป็นระยะๆ และแจ้ง ให้ทุกคนรับทราบผลการประเมิน โดยใช้ แบบประเมินพฤติกรรมเชิงจริยธรรม ของ สำนักงาน กพ. Salf Assessment Online ( ser/login.aspx) ( เมษายน, กรกฎาคม, กันยายน ) ประเมินผลการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม เชิงจริยธรรม ประเมินผลการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม เชิงจริยธรรม และแจ้งให้ทุกคนรับทราบ และแจ้งให้ทุกคนรับทราบ โครงการประเมินพฤติกรรม จริยธรรมด้วยตนเอง

โครงการพัฒนาจิยธรรมข้าราชการ และลูกจ้าง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดกิจกรรมและสร้างแรงจูงใจ ให้ ข้าราชการและลูกจ้างในสังกัด เห็นความสำคัญเรื่อง จริยธรรมของ ข้าราชการ 2. เพื่อให้ข้าราชการและลูกจ้างได้มีส่วนร่วมใน การพัฒนาจริยธรรรม ซึ่งกันและกัน 3. เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการ เสริมสร้างจริยธรรม ในองค์กร

จุดประสงค์การกำหนดรหัสให้ สมาชิก - ผู้ประเมินสามารถแยกข้อมูลประมวลผลได้ตามวัตถุประสงค์ เช่น แยกกลุ่มบุคลากร, แยกเป็นหน่วยงานหรือแผนกได้ง่าย - เพื่อสร้างความไว้วางใจแก่สมาชิก ด้านรักษาความลับการประเมิน - เพื่อสามารถนำผลการประเมินติดประกาศในหน่วยงานได้ โดยไม่เกิดปัญหาการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล - ผู้ที่ทำแบบประเมินจะกล้าทำแบบประเมินที่ตรงกับพฤติกรรมจริง

ตัวอย่างรหัส KL KL = คลองลาน 1= สังกัด สสอ. 01= หน่วยงานที่ 1 0= ข้าราชการ 01= คนที่ 1 ในหน่วยงานที่ 1 KL KL = คลองลาน 2= สังกัดสถานีอนามัย 01= หน่วยงานที่ 1 1= ลูกจ้างชั่วคราว 01= คนที่ 1 ในหน่วยงานที่ 1

โครงการพัฒนาจิยธรรมข้าราชการ และลูกจ้าง เป้าหมาย ข้าราชการและลูกจ้างในสังกัด มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 70

โครงการพัฒนาจิยธรรมข้าราชการ และลูกจ้าง 1. ประชุมคณะกรรมการชมรมจริยธรรม กำหนดกิจกรรม และระยะเวลาจัดกิจกรรม พัฒนา จริยธรรมแก่สมาชิก 2. แจ้งกำหนดการจัดกิจกรรมต่างๆแก่ สมาชิกชมรม เช่น กิจกรรมฟังธรรมพัฒนาจิตใจ เชิดชูความดีผู้ปฏิบัติดี การทักทายสวัสดี การแต่งกายให้เหมาะสมเป็นข้าราชการที่ดี 3. ประเมินความความพึงพอใจสมาชิกที่ร่วม กิจกรรม

โครงการประเมินพฤติกรรม จริยธรรมด้วยตนเอง

ผลการดำเนินกิจกรรมชมรม จริยธรรม จำนวนสมาชิก ชมรมจริยธรรมฯ 69 คน จำนวนสมาชิก ชมรมจริยธรรมฯ 69 คน ข้าราชการประจำ 44 คน ข้าราชการประจำ 44 คน ร้อยละ ลูกจ้างชั่วคราว 25 คน ลูกจ้างชั่วคราว 25 คน ร้อยละ 36.23

ผลการประเมินพฤติกรรมจริยธรรม ด้วยตนเอง ครั้งที่ 1 1. ด้านกล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง

ผลการประเมินพฤติกรรมจริยธรรม ด้วยตนเอง ครั้งที่ 1 2. ด้านซื่อสัตย์รับผิดชอบ

ผลการประเมินพฤติกรรมจริยธรรม ด้วยตนเอง ครั้งที่ 1 3. ด้านโปร่งใสตรวจสอบได้

ผลการประเมินพฤติกรรมจริยธรรม ด้วยตนเอง ครั้งที่ 1 4. ด้านไม่เลือกปฏิบัติ

ผลการประเมินพฤติกรรมจริยธรรม ด้วยตนเอง ครั้งที่ 1 5. ด้านมุ่งผลสัมฤทธิ์ในงาน