Download ใน www.metteyya.info หรือ www.mattaiya.orgwww.metteyya.info.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อคิดในการใช้ชีวิต พระราชดำรัสในหลวง.
Advertisements

นิยามแห่งการลืมเลือน
ทุกข์หลุด เพราะปล่อย. ทุกข์หลุด เพราะปล่อย.
ที่เราต้องเจ็บปวดกับความรักนะ
3. เป้าหมายสูงสุด คือ นิพพาน
กำจัดศัตรูภายในด้วยสมาธิ
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
นางสาวเบญญาสิริ แก้วเบี่ยง
นางสาวเบญญาสิริ แก้วเบี่ยง
นิทาน เรื่อง คุณยายพยาบาล
กฎแห่งความว่าง....
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ชีวิต.
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
ข้อคิดในการใช้ชีวิต พระราชดำรัสในหลวง.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
บุญ.
แล้วคุณละเป็นเปรียบเหมือนรอยจารึกอะไร
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
เรื่อง สติ กับการบริโภค
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
นิทานธรรมะ ยักษ์....ทำไมปีนต้นไม้...
การใช้ปัญญา.
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
...คนที่ไม่เคยทำผิด คือคนที่ไม่เคยทำอะไรเลย...
สันโดษ... เคล็ดลับของความสุข
**สูตรนำไปสู่ความสำเร็จ**
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 34
ข้อคิดฮิตโดนใจ โดย...อ.อ้อ สุธาสินี
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
อย่าด่วนเชื่อ โดยฟังตามๆกันมา
สมาธิเพื่อสะสมกุศลบารมี
พระวาจาทรงชีวิต มีนาคม 2009.
พระป่า และ คำสอน ชุด ๑.
พระป่า และ คำสอน ชุด ๒.
พูดให้ไพเราะ (ธรรมะจากสวนโมกข์พลาราม)
ถุงมันฝรั่ง.
พระอาทิตย์กับลมพายุ.
ม้ากับลา.
ทำดีไม่ขึ้น ทำให้มากขึ้น
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
Download ใน หรือ
Download ใน หรือ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
Download ใน หรือ
Download ใน หรือ
คนตัดไม้.
ณ โรงเรียนแห่งหนึ่ง คาบเรียนคอมพิวเตอร์...
วันอาสาฬหบูชา.
“เรื่องของใครกันแน่”
ไม่มีมิตรในหมู่นักการเมือง เป็นเรื่องจริงหรือเปล่าคะ
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การบริหารจิต.
การใช้อำนาจและอิทธิพล
คัดย่อจากจากผลงานธรรมนิพนธ์เรื่องต่างๆ
เด็กหานาฬิกา ชาวนาคนหนึ่ง หลังจากไปทำความสะอาดคอกม้า ออกมาก้อพบว่านาฬิกาพกของตน ได้หล่นหายไปเสียแล้ว นาฬิกาพกเรือนนี้มีความหมายต่อเขาอย่างมาก ด้วยเป็นของขวัญ.
อิทธิบาท4 เพื่อพัฒนาอารมณ์และจิตใจ
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
อริยสัจ 4.
นิทานอีสป เรื่อง เด็กเลี้ยงแกะ
“คำพูดคุณครู”.
แบบทดสอบคำพังเพย ทำโดย ด.ช.ณัฐภัทร อภิธรรมใบบุญ เสนอ
The McKinsey Way.
การนอนหลับและการ ฝัน จิตต้องการพักผ่อน ปิดประตูประสาทสัมผัส ไม่มี ความรู้สึกนึกคิดใด ๆ เรียกว่า “ ภวังคจิต ”
นางสาวละอองดาว รัศมีส่องสว่าง โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Download ใน หรือ

การภาวนา คือ การอบรมจิตให้มี ความสงบ เป็นการชำระจิตใจให้สงบ จากอารมณ์ต่างๆ ยิ่งเป็นการ ละเอียดไปกว่าการรักษาศีลอีก จิตของเราถ้ายังไม่สงบตราบใดแล้ว มันก็จะต้องยุ่งวุ่นวายอยู่ตราบนั้น เมื่อมาฝึกหัดภาวนา เห็นโทษ เห็น ภัย ของความยุ่งยากไม่สงบด้วยตัน เองแล้ว เราก็จะพยายามทุกวิถีทางที่ จะละความไม่สงบ เมื่อสิ่งใดที่ละได้ แล้วอารมณ์ใดที่วางได้แล้วเราก็ จะต้องรักษาไม่ให้สิ่งนั้น มันเกิด ขึ้นมาอีก ไม่ใช่ว่าเราละได้แล้วก็แล้ว ไปเลยไม่ต้องคำนึงถึงมันอีก อย่าง ไม่ถูกต้อง เพราะมันอาจสามารถที่ จะฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีก ถ้ามันเกิดมาที หลังจะยิ่งร้ายกว่าเก่า ( ธรรมเทศนาเรื่อง มาร )

การหัดภาวนาเบื้องต้น คือ หัดให้เข้าถึง จิตเป็นหนึ่ง หัดเบื้องต้นก็จริง แต่มันถึง ที่สุดได้ คือ จิตที่สงบนิ่งเป็นหนึ่ง มันก็ถึง ที่สุดแล้ว การฝึกหัดจิต หัดมากหัดน้อย เท่าไรก็ตาม ต้องการให้จิตเข้าถึงที่สุด คือ จิตเป็นหนึ่งเท่านั้น การฝึกหัดจิตไม่ นอกเหนือไปจากจิตเป็นหนึ่ง ส่วนอุบาย ปัญญาที่จะเกิดขึ้น มันเป็นของเฉพาะ บุคคล ( ธรรมเทศนาเรื่อง แก่นของการปฏิบัติ ) ขอจงตั้งใจทำให้จริงจัง และทำความ เลื่อมใสพอใจในกัมมัฏฐานของตนให้แน่ว แน่เต็มที่ ทำนิดเดียวก็จะเป็นผลยิ่งใหญ่ ไพศาล เมื่อทำไปทุกๆ วัน วันละนิดวันละ หน่อย มันหากจะมีวันหนึ่งโดยที่เราไม่ได้ ตั้งใจจะให้เป็นมันหากเป็นเอง คราวนี้ละ เราจะประสบโชคลาภอย่างยิ่งอย่าบอก ใครเลย ถึงบอกก็ไม่ถูกเป็นของรู้และ ซาบซึ้งเฉพาะตนเอง คำว่าภาวนาขี้เกียจและปวดเมื่อย แข้งขาจะหายไปเองอย่างปลิดทิ้ง จะมีแต่ อยากทำภาวนาสมาธิอยู่ร่ำไป ( ธรรมเทศนาเรื่อง ทุกข์ )

เรา เกิดมากี่ภพกี่ชาติก็มาหัดสติตัวเดียวนี้ แต่ก็หัดสติไม่ สมบูรณ์สักที เหตุนั้นจึงควรที่พวกเราจะพากันรีบเร่งหัดสติทุกคนแต่ บัดนี้ อายุอานามมาถึงป่านนี้แล้วเรียกว่าจวนเต็มที จวนจะหมดสิ้น จวน จะตายอยู่แล้ว ไม่ทราบว่าจะตายวันไหน ควรที่จะหัดสติให้อยู่ในเงื้อมมือ ของตนให้ได้ อย่าให้จิตไปอยู่ในเงื้อมมือของความหลงมัวเมา ผู้ใดจิตไม่อยู่ในอำนาจของตนก็ชื่อว่าเราเกิดมาแล้วเสียเปล่า ได้ฟังคำ สอนของพระพุทธเจ้าเสียเปล่า เปล่าจากประโยชน์ [ จากหนังสือ เทสกานุสรณ์ หน้า ๑๗๑ ]

แก่นสารคือ จิตที่เป็นหนึ่ง จับเอาจิตที่เป็นหนึ่งให้ได้ ครั้งจับเอาจิตที่เป็นหนึ่งได้แล้วรักษาเอาไว้ ให้มั่น ไม่ต้องเอาอื่นใดอีก เอาอันเดียวนั้นเท่านั้นเป็นพอแล้ว ( ธรรมเทศนาเรื่อง แก่นการปฏิบัติ )

ผู้ใดทำใจให้ถึงความเป็นกลางได้ ผู้นั้นจะพ้นจากทุกข์ทั้งปวง [ จากหนังสือเทสรังสีอนุสรณาลัย ]

จิตเป็นสมาธิแล้ว นั่นจึงจะมองเห็น ธรรม คือ ความเกิด ความแก่ ความ เจ็บไข้ และความตายได้ชัดเจน ( ธรรม เทศนาเรื่อง ธรรมะ ) ผู้ที่ยอมตัวมารับเอาศีลไปไว้เป็น เครื่องปฏิบัติ จะเป็นศีล ก็ ตามได้ชื่อว่าเป็นผู้เริ่มต้นปฏิบัติศาสนะ พรหมจรรย์เข้าไปทำลายบ่อนรังข้าศึก อันมีอยู่ในภายในใจของตนแล้ว ( ธรรมเทศนาเรื่อง สติปัฏฐานภาวนา )