ภาวะติดตาย (Deadlock)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Process Synchronization
Advertisements

กระบวนการ (Process).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
ขั้นตอนการตรวจเช็คสถานะสินค้าซ่อมของ End User
ด.ญ. มินตรา บุตระ เลขที่ 31 ม. 2/5 ด.ญ. ชลธิชา สุ่มลาย เลขที่ 36 ม.2/5
Register Allocation and Graph Coloring
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
นางสาวกนกอร ศิริอำนาจ กลุ่ม 2
Deadlocks oslecture07.
นงลักษณ์ พรมทอง วิเชษฐ์ พลายมาศ
การจัดสรรหน่วยประมวลผล (Process Scheduling)
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
Lecture no. 6 Structure & Union
มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความ ต้องการของผู้ใช้ เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นกว่าเดิม เพราะเป็นการใช้งาน IP จริงทั้งหมด.
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Use Case Diagram.
C Programming Lecture no. 9 Structure.
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การทำงานของคอมพิวเตอร์
โครงสร้างการทำงานของ OS
Critical-Section Problem
What’s P2P.
การฟื้นสภาพและการควบคุมสภาวะพร้อมกัน
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
แนวทางการประหยัดพลังงานของคณะฯ
Processor Management (Thread and Deadlock)
Memory Management ในยุคก่อน
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
คำสั่ง while และ do…while
สมบัติของความสัมพันธ์
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
DEADLO CK นางสาวเบญจวรรณ จิตร ถวิล วันนี้เริ่มต้นเรียนบทที่ 7 หน้า 237 ในตำรา เรียนจะเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่รู้อยู่แล้ว คือ สิ่งที่ทำให้แอพพลิเคชั่นหรือบางครั้งถ้า.
Synchronization (การประสานงาน)
Synchronization น.ส.จิรภัทร ทองนพคุณ รหัสนิสิต กลุ่ม 1 Operating System.
รูปแบบของปัญหา (System Model) กระบวนการหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อน ได้ใช้ทรัพยากรนั้น และจะต้องคืน ทรัพยากรนั้นกลับสู่ระบบเมื่อใช้เสร็จ.
Deadlocks รูปแบบของปัญหา (System Model)         กระบวน การหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อนได้ใช้ทรัพยากรนั้น.
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
กติกาข้อ 17 การเล่นลูกจากประตู (The Corner Kick)
Process.
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
วัตถุประสงค์ KTY ย่อมาจาก Kiken Yoshi Training
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
Interrupt.
เครื่องวัดแสง Foot Candle Lux
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
Sequence Diagram Communication Diagram
ข้อมูล ณ 7 พ.ค. 56 เวลา กิจกรรม ผู้เกี่ยวข้อง Output/Outcome
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กล่องที่จะทำการเจาะเพื่อใส่ อุปกรณ์ ( ด้านบน ). กล่องที่จะทำการเจาะเพื่อใส่ อุปกรณ์ ( ด้านล่าง )
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
นางสาวกนกอร ศิริอำนาจ กลุ่ม 2.  บทที่ 7 หน้า 237 ในหนังสือเรียนโอเอส ใน บทนี้จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่น่าจะ รู้อยู่แล้ว ก็คือ.
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
Deadloc ks. วันนี้เราเริ่มต้นเรียนบทที่ 7 เริ่มในหน้า 237 ในตำรา เรียนของคุณ. บทนี้จะเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่คุณรู้, มันคือ สิ่งที่ทำให้ application.
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
Wattanapong suttapak SE, ICT University of Phayao.
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Chapter7b Deadlock. Daedlocl ( วงจรอัป ) คือ สภาวะที่โพรเซส บางตัวหรือทุกตัวไม่สามารถทำงานต่อไปได้ ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ทรัพยากรร่วมกันแล้ว เกิดการแย่งชิง.
DEADLOCKS Advanced Operating System Operating System Technology
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาวะติดตาย (Deadlock)

Deadlock คืออะไร สภาวะที่โปรเซสบางตัวหรือทุกตัว ไม่สามารถทำงานต่อไปได้ ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ทรัพยากรร่วมกัน แล้วมีการแย่งทรัพยากรกัน ทรัพยากรในระบบ เวลาของ CPU (CPU time) Address Space File I/O

เงื่อนไขการใช้ทรัพยากรของโปรเซส ทุกๆโปรเซสจะต้องดำเนินการตามเงื่อนไขนี้ 1. ร้องขอ (Request) จะรอจนกว่าได้รับทรัพยากรนั้น 2. ใช้งาน (Use) ใช้งานจนเสร็จ 3. คืนทรัพยากร (Release) ใช้เสร็จแล้วก็คืนกลับสู่ระบบ ปัญหาเกิดตรงไหน ร้องขอตลอดกาล ใช้งานแล้วไม่คืน

เงื่อนไขการเกิด Deadlock ทรัพยากรเป็นแบบใช้ร่วมกันไม่ได้ (Mutual Exclusion) 1 โปรเซสเท่านั้นที่จะใช้ทรัพยากรได้ อีกโปรเซสต้องรอ ถือครองแล้วรอคอย (Hold and Wait) โปรเซสตัวหนึ่งใช้ทรัพยากรอยู่ โดยที่กำลังรอคอยทรัพยากรอีกตัวหนึ่ง ซึ่งทรัพยากรตัวนี้ก็ถูกครอบครองโดยอีกโปรเซสหนึ่ง ไม่มีการแทรกกลางคัน (No Preemption) ทรัพยากรจะถูกคืนเมื่อโปรเซสต้องการคืน หากไม่คืน OS ทำอะไรไม่ได้ รอคอยเป็นวงกลม เป็นการรอคอยแบบงูกินหาง

ตัวอย่าง - วงกลม แทนโปรเซส - สี่เหลี่ยม แทนทรัพยากรแต่ละประเภท และจะใช้ จุดแทนทรัพยากรแต่ละ Instance - ลูกศร แทนการใช้ทรัพยากร P1 P2 R1 ถูกใช้โดย P1 R2 รอคอย R3 ถูกใช้โดย P2 R3

สรุป การเกิด Deadlock จะทำให้ระบบเสียเสถียรภาพไป ระบบควรจะมีการตรวจสอบ (Monitor) อยู่อย่างสม่ำเสมอ ทางที่ดีก็ควรป้องกันไว้ก่อน (Preventive Maintenance)