มอสเฟท MOSFET.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
รอยต่อ pn.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน-กระแสของ MOSFET
Bipolar Junction Transistor
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
COMPUTER.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
กระแสไฟฟ้า Electric Current
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
ลำโพง (Loud Speaker).
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
SUPERCONDUCTORS จัดทำโดย 1..
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
ซิลิคอน คอนโทรล สวิตช์ (SCS)
คือ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
เจเฟต Junction Field-effect transistor
เอสซีอาร์ SCR.
เตาไฟฟ้า.
กระทะไฟฟ้า                .
หลอดไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Electronics for Analytical Instrument
อิเล็กโทรนิกส์.
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
การหาดิวตี้ ไซเคิล (Duty cycle)
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
ไอซีดิจิตอลและการใช้งาน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
1. Sequential Circuit and Application
อิเล็กทรอนิกส์แบบพิมพ์ได้
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
CHAPTER 18 BJT-TRANSISTORS.
Lecture 6 MOSFET Present by : Thawatchai Thongleam
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มอสเฟท MOSFET

ความเป็นมา : เฟท ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า (Field-effect transistor: FET) เรียกสั้น ๆ ว่า เฟท ใช้สนามไฟฟ้าในการเปลี่ยนแปลงสภาพของสารกึ่งตัวนำเพื่อให้เกิดการนำกระแสเมื่อได้รับแรงดันไฟฟ้าที่เหมาะสม

เฟทแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ทรานซิสเตอร์สนาม ไฟ้ฟาแบบรอยต่อ(Junction Field Effect Transistor) หรือ เจเฟท (JFET) และทรานซิสเตอร์ สนามไฟฟ้าแบบโลหะ-ออกไซด์-สารกึ่งนำ (Metal-Oxide-Semiconductor Field Effect Transistor) หรือ มอสเฟท (MOSFET)

แชนแนล N (N-Channel) - แชนแนล P (P-Channel) มอสเฟท :ประเภท แบ่งเป็น 2 ประเภท มอสเฟทแบบดีพลีชั่น (Depletion MOSFET) เรียกสั้นๆ ว่า ดีมอสเฟท แบ่งเป็น 2 แบบ แชนแนล N (N-Channel) - แชนแนล P (P-Channel) มอสเฟทแบบเอนฮานซ์เมนต์(Enhancement MOSFET) เรียกสั้น ว่า อี มอสเฟท แบ่งเป็น 2 แบบ - แชนแนล N (N-Channel) - แชนแนล P (P-Channel) Note : โดยปกติการใช้มอสเฟทในวงจรกำลังมักเป็น อีมอสเฟท

มอสเฟท :รูปลักษณ์ภายนอก

ขั้วซอร์ส (Source : S) ขั้วเดรน (Drain : D) ขั้วเกท (Gate : G) มอสเฟต : ขาต่อใช้งาน มี 3 ขั้ว ขั้วซอร์ส (Source : S) ขั้วเดรน (Drain : D) ขั้วเกท (Gate : G)

มอสเฟท :สัญลักษณ์ ดีมอสเฟท N-Channel P-Channel สัญลักษณ์ของดีมอสเฟท

มอสเฟท :สัญลักษณ์ อีมอสเฟท N-Channel P-Channel สัญลักษณ์ของอีมอสเฟท

คุณลักษณะของมอสเฟท : บริเวณการทำงาน มี 3 บริเวณ บริเวณคัตออฟ (Cutoff region) เมื่อ VGS≤VT บริเวณพินช์ออฟหรือบริเวณอิ่มตัว (Pinch-off or Saturation region) เมื่อ VDS≤VGS –VT บริเวณที่เป็นเชิงเส้น (Linear region) เมื่อ VDS≥VGS –VT บางครั้งใช้ VGS(TH)

ประโยชน์และการใช้งานของมอสเฟทกำลัง -มีความเร็วในการสวิตช์สูงมาก (เป็นNanosecond) จึง เหมาะกับวงจร Converter ที่มีความถี่สูงและมีกำลังไฟฟ้าต่ำ - ปัญหาในการคายประจุไฟฟ้าสถิต (Electrostatic discharge) ภายในตัวเอง การป้องกันขณะเกิดฟอลต์แบบลัดวงจร (Short circuit fault) ทำได้ยาก

จบการนำเสนอ