เจเฟต Junction Field-effect transistor

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Combination Logic Circuits
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
รอยต่อ pn.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน-กระแสของ MOSFET
Bipolar Junction Transistor
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
8. ไฟฟ้า.
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
Object-Oriented Analysis and Design
น.ส.กฤติกา วงศาวณิช นายศุภชัย ตั้งบุญญะศิริ
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
VD D คีย์ สวิทช์ องค์ประกอบการทำงานเบื้องต้นของไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ OS C2 RS T VS S 5 V 4 MHz 5 V.
โฟโตไดโอด (PHOTODIODE)
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
ซิลิคอน คอนโทรล สวิตช์ (SCS)
คือ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
มอสเฟท MOSFET.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Electronic Circuits Design
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
Electronic Circuits Design
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เจเฟต Junction Field-effect transistor

โครงสร้าง เจเฟต จังก์ชันฟิลด์เอฟเฟ็คท์ทรานซิสเตอร์ (Junction Field-effect transistor) หรือ JFET แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ N-Channel กับ P-Channel มีขาเพื่อการใช้งาน 3 ขา โดยถือว่าขา D และขา S ต่ออยู่กับสารชนิดเอ็นซึ่งกำหนดเป็นช่องทางเดินกระแสหรือ channel ในขณะที่ขา G ควบคุมการไหลของกระแส สร้างมาจากสารชนิดพีมี 2 region ของเกตโอบล้อมแชนแนลซึ่งเป็นสารเอ็นเอาไว้  ส่วนเจเฟตชนิดพีแชนแนลมีโครงสร้างคล้ายกัน เพียงแต่ในส่วนของเนื้อสารมีความแตกต่างกันเท่านั้นเอง โดยเนื้อสารในส่วนที่เป็นทางไหลของกระแสตรงที่เรียกว่าแชนแนลนั้นเป็นสารชนิดพีส่วนเกตเป็นสารชนิดเอ็น    

รูปโครงสร้างเบื้องต้นของ เจเฟต

สัญลักษณ์ เจเฟต สัญลักษณ์ของเจเฟตชนิด p แชนแนล สังเกตได้ว่าลูกศรชี้ออก พาหะข้างมากของเจเฟตชนิดนี้คือโฮล แทนที่จะเป็นอิเลคตรอนแนวดิ่ง แสดงถึง แชนแนลของเจเฟต ขาซอร์สและเดรนต่อกับแชนแนลนี้ ลูกศรที่ชี้เข้าคือขาเกต การที่ลูกศรชี้เข้า แสดงถึง เจเฟตเส้นหนาในชนิด n แชนแนล แบบใน n แชนแนล 

รูปสัญลักษณ์ ของเจเฟต

การทำงาน ของเจเฟต จะทำงานได้โดยป้อนแรงดันไบแอสที่เดรนและซอร์สโดยแหล่งจ่าย VDD ให้ขั้วบวกกับเดรนและขั้วลบกับซอร์ส  สำหรับเกตของเจเฟตจะให้ไบแอสกลับ โดยเจเฟตชนิด n-channel จะมีเกตเป็น p ดังนั้นแรงดันไบแอสที่เกต VGG  ต้องให้ขั้วลบกับเกตและขั้วบวกกับซอร์ส

รูปการทำงานของเจเฟต

วงจร Audio Mixer (JFET) แบบ 3 อินพุท ที่ทำการออกแบบ วงจร Audio Mixer (JFET) แบบ 3 อินพุท ที่ออกแบบมีลักษณะแสดงดังรูปโดยในที่นี้นั้นใช้เจเฟตเบอร์ 2N3819 มาสร้างวงจร

ลักษณะของวงจร Audio Mixer (JFET) แบบ 3 อินพุท  ที่ใช้เจเฟตเบอร์ 2N3819 ที่ได้ออกแบบ

วงจร Audio Mixer (JFET) แบบ 3 อินพุท ที่ได้ทำการออกแบบ โดยจะเห็นได้ว่าได้มีการใช้หลักการของเจเฟตมาประยุกต์ใช้งาน โดยมีลักษณะเป็นวงจรแบบวงจรรวมสัญญาณแบบ 3 อินพุท ซึ่งสัญญาณทั้ง 3 นั้นจะถูกรวมเข้าด้วยกัน ซึ่งจะสามารถควบคุมระดับของสัญญาณที่ป้อนเข้ามาได้ว่าต้องการให้มีความแรงของสัญญาณมากน้อยเท่าใด โดยจะควบคุมความแรงของสัญญาณได้ในระดับหนึ่งตามที่ได้ทำการออกแบบไว้และได้สัญญาณทั้งหมดออกมานั้นเอง 

จบการนำเสนอ