โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
ระบบอนุภาค.
Quadratic Functions and Models
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Introduction to Statics
ความหมายและชนิดของคลื่น
คลื่นผิวน้ำ.
การแปรผันตรง (Direct variation)
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วงรี ( Ellipse).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 3 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์ ฟิสิกส์ การเคลื่อนที่ โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์

การเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ตาง ๆ อาจจําแนกลักษณะการเคลื่อนที่ไดเปน สองแบบคือการเคลื่อนที่แนวเสนตรง และ การเคลื่อนที่แนวเสนโคง

หากวัตถุมีแนวการเคลื่อนที่กลับไปกลับมา เคลื่อนที่จากตําแหนง หนึ่งไปถึงอีกตําแหนงหนึ่งแลวเคลื่อนที่ยอนกลับมาที่เดิม การเคลื่อนที่ลักษณะนี้เรียกวา การเคลื่อนที่แบบสั่น การเคลื่อนที่ที่แนวการเคลื่อนที่ไมไดย้อนกลับไปกลับมาแต่จะหมุนไปจนครบรอบและเริ่มรอบใหม่ซ้ำแนวเดิม การเคลื่อนที่แบบนี้เรียกวา การเคลื่อนที่แบบหมุน เคลื่อนที่จากตำแหนงที่ผ่านไปแลวกลับมาที่ตำแหนงเดิม และเคลื่อนที่ตอไปอีกเหมือนเดิมอีก เรียกการเคลื่อนที่ลักษณะนี้วา การเคลื่อนที่แบบคาบ

การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง คำจำกัดความของปริมาณการเคลื่อนที่ ระยะทาง (distance) เปนปริมาณสเกลาร บอกถึงระยะทางทั้งหมดที่วัตถุมีการเคลื่อนที่ มีหนวยเปนเมตร การกระจัด ( displacement ) คือ ผลต่างของตำแหน่งระหว่างตำแหน่งสุดท้าย และตำแหน่งเริ่มต้น ในแนวแกน X : X = X2 - X1

ความเร็วและอัตราเร็ว ความเร็ว (velocity) และอัตราเร็ว (Speed) มีความแตกต่างกันเพราะความเร็วเป็นปริมาณเวกเตอร์ แต่อัตราเร็วคือปริมาณสเกลาร์ ความเร็ว คือ อัตราส่วนของการกระจัดต่อช่วงเวลาของการเคลื่อนที่ อัตราเร็ว คือ อัตราส่วนของระยะทางต่อช่วงเวลาของการเคลื่อนที่

ความเร็วเฉลี่ย (average velocity) คือ อัตราส่วนของการกระจัดต่อช่วงเวลาของการเคลื่อนที่ = ความชันของเส้นตรง PQ หมายเหตุ – ความเร็วเฉลี่ยเป็นปริมาณที่บอกถึงค่าเฉลี่ยของความเร็ว ตลอดการเคลื่อนที่ - ถ้าเป็นการเคลื่อนที่ครบรอบจะได้ความเร็วเฉลี่ยเป็นศูนย์

ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous velocity) คือ ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งของการเคลื่อนที่ = ความชันของเส้นสัมผัสทางเดิน

ความเร่ง คือ การเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลา ความเร่งเฉลี่ย (average acceleration) เป็นปริมาณที่บอกถึงการเปลี่ยนแปลงความเร็วตลอดช่วงเวลาของการเคลื่อนที่ ความเร่งบัดดล (instantaneous acceleration) เป็นปริมาณที่บอกถึงการเปลี่ยนแปลงความเร็วในขณะใดขณะหนึ่ง

การเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว ตัวอย่าง : คือวัตถุตกอย่างอิสระในแนวดิ่งและการห้ามล้อรถยนต์ การเคลื่อนที่บางอย่างที่มีความเร่งไม่คงตัว อาจถือได้ว่ามีความเร่ง คงตัวโดยมีค่าความเร่งเท่ากับความเร่งเฉลี่ย

สําหรับการคํานวณหาระยะทาง x ที่วัตถุเคลื่อนที่ไดใน ชวงเวลา เมื่อกำหนดความเร็วตน v0และความเรงคงตัว a จะหาไดดังนี้ เนื่องจากระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปมีคาเทากับผลคูณระหวางความเร็วเฉลี่ยกับเวลาจึงเขียนไดวา

การคำนวณหาการกระจัด ความเร็วและความเร่งโดยใช้กราฟ

การหาค่าขนาดความเร่งเฉลี่ยอาจจะคำนวณได้จากความชันของกราฟระหว่างความเร็วกับเวลาได้ ดังนี้

กราฟความสัมพันธ์ของปริมาณการเคลื่อนที่ กราฟการเคลื่อนที่ของรถที่มีความเร่งในลักษณะต่าง ๆ

สมการของการเคลื่อนที่ 1 . v = u at + s ut 1 2 2 . + = at2 3 . 2as v2 = u2 + 4. s = ( v + u ) t 2 เมื่อ = ความเร็ว ณ เวลาใด ๆ u = ความเร็วต้น = เวลาในการเคลื่อนที่ = ความเร่ง s = การกระจัด

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไตล์ เป็นการเคลื่อนที่ในสองมิติหรือบนระนาบที่ความเร่งในแนวดิ่งและความเร็ว ในแนวราบมีค่าคงตัว ถ้าเมื่อ t = 0 , วัตถุมีความเร็วต้น ที่ทำมุมกับแนวราบ ความเร็วต้นในแนวราบ : ความเร็วต้นในแนวดิ่ง :

การเคลื่อนที่ในแนวราบ ความเร็ว : การกระจัด : การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ความเร็ว : การกระจัด :

เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ถึงจุดสูงสุด เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ถึงจุดสูงสุดเป็นครึ่งหนึ่งของเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งหมด ความสูงที่สุดที่วัตถุสามารถเคลื่อนที่ไปได้