บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เลขยกกำลัง.
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
แฟกทอเรียล (Factortial)
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ. สมมติให้พนักงานดังกล่าวดำเนินการแต่งตัวเพื่อไปทำงานเป็นดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ.
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
วงรี ( Ellipse).
ตัวประกอบของจำนวนนับ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง
การคูณและการหารเอกนาม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint จัดทำโดย เด็กหญิงจุฑามาศ วงค์ต๋าคำ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

สวัสดีครับเพื่อนๆ

หน่วยการเรียนรู้ เลขยกกำลัง หน่วยการเรียนรู้ เลขยกกำลัง

เรามารู้จักกับ ความหมายของเลขยกกำลัง กันดีกว่า

ความหมายของเลขยกกำลัง เรียนรู้ ความหมายของเลขยกกำลัง เพื่อนเคยเรียนเรื่องเลขยกกำลังมาบ้างแล้ว  บทนิยามของเลขยกกำลังเป็นดังนี้    เป็นเลขยกกำลังที่มี  2  เป็นฐาน  และมี  5  เป็นเลขชี้กำลัง  และ หมายเหตุ           ในกรณีที่เลขยกกำลังมีเลขชี้กำลังเป็น  1  เช่น    จะหมายถึง    และนักเรียนจะสังเกตเห็นว่า  จำนวนทุกจำนวน  เช่น  2, -7, , x  เป็นเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็น 1

n5 มีความหมายว่าอย่างไร n × n × n × n × n n × 5

2 3 มีความหมายว่าอย่างไร แบบฝึกหัด 2 3 มีความหมายว่าอย่างไร 2 × 2 × 2 2 × 3

การคูณเลขยกกำลัง วิธีทำ ในการคูณเลขยกกำลังกับเลขยกกำลัง  ผลคูณที่ได้จะไม่อยู่ในรูปเลขยกกำลัง ที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า  1  แต่ในบางกรณี  เราสามารถเขียน ผลคูณของเลขยกกำลังให้อยู่ในรูปเลขยกกำลังได้เลย  ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่าง   จงหาผลคูณของ   กับ วิธีทำ                                    หรือ หาคำตอบได้จากบทนิยาม am×an = a m+n วิธีทำ 3 5 × 3 2 = 3 5+2 = 3 7

(-2) 4 × (-2) 2มีค่าเท่ากับข้อใด (-2) 4 × (-2) 2มีค่าเท่ากับข้อใด (-2) 8 (-2) 6

(-10) 3 × (-10) 5 มีค่าเท่ากับข้อใด (-10) 8 (-10) 15

เมื่อเรานำเลขยกกำลังหนึ่งไปหารเลขยกกำลังอีกจำนวนหนึ่งจะได้ผลดังนี้ การหารเลขยกกำลัง เมื่อเรานำเลขยกกำลังหนึ่งไปหารเลขยกกำลังอีกจำนวนหนึ่งจะได้ผลดังนี้   5453 = (5x5x5x5) (5x5x5) = 5 4-3 = 5 แต่ทุกคนได้รู้ว่า "ไม่ใช้ศูนย์เป็นตัวหาร" ดังนั้นเลขยกกำลังที่หารนั้น  "ต้องมีฐานที่ไม่ใช่ศูนย์" a 0 = 1 และ a ไม่ใช่ 0 2 3  2 3 = (2x2x2) (2x2x2) = 23-3 = 20 = 1 ถ้าพร้อมแล้วก็ไปตอนต่อไปเลยครับ

(- 5) 2 ÷ (- 5) มีค่าเท่ากับข้อใด (- 5) 2 ÷ (- 5) มีค่าเท่ากับข้อใด (- 5) 2 - 1 (- 5) 2 - 0

(- 4) 5 ÷ (- 4) 2 มีค่าเท่ากับข้อใด (- 4) 5 - 2 (- 4) 5  2

การนำไปใช้

7250000 อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ข้อใด 7.25×106 725 ×104

3×10-7 เขียนในรู้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ในข้อใด 0.00000003 0.0000003