เตรียมตัวอย่างไร ปลอดภัยจากการใช้รังสี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

Medication reconciliation
การดูแลระยะตั้งครรภ์
กฏระเบียบความปลอดภัย ของพนักงานขับรถบรรทุกสินค้า
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
RADIOLOGY DEPARTMENT กลุ่มงานรังสีวิทยา.
เรื่องหลักปฏิบัติในการใช้สารเคมีที่ปลอดภัย
บทที่ 2.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
สิ่งที่ไม่ควรทำหลังการรับประทานอาหาร (7 ประการ)
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การพัฒนาบุคลิกภาพด้วยเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย
Management of Pulmonary Tuberculosis
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วย ก่อนรับการรักษาด้วยรังสี
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดขั้นตอน ลดการสูญเสียเวลา ในการ ตามใบนัดตรวจของผู้ป่วยใน 2. ลดเวลารอตรวจของผู้ป่วยใน.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
การป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานพ่นเคมี
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด นางสาวนิตติยา บุตรวงษ์
รับเอกสาร การตรวจ สุขภาพ รายชื่อติด กับ กระดาน หรือโต๊ะ ประตูทางเข้า ประตู ทางออก ลงทะเบียนและรับ หลอดเลือด ชั่ง น้ำหนัก / วัดส่วนสูง เจาะ เลือด พบแพทย์
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย โรงพยาบาลทัพทัน
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การตรวจ มะเร็งเต้านมด้วยตนเอง.
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน
สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการความปลอดภัย
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
Patient profile หลังผู้ป่วยฉีด telebrix ประมาณ 5 นาที เกิดผื่นขึ้นตามตัว แพทย์วินิจฉัยแพ้ระดับ mild ประเมินความสัมพันธ์ระดับ probable.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การตรวจสุขภาพและจัดทำบัตรตรวจสุขภาพของลูกจ้างที่ทำงานประดาน้ำ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เตรียมตัวอย่างไร ปลอดภัยจากการใช้รังสี โดย งานรังสีวินิจฉัย

การเตรียมผู้ป่วยก่อนถ่ายภาพรังสี เพื่อให้ได้ภาพรังสีที่ชัดเจนและปราศจากสิ่งที่มาบัง บริเวณใดๆในฟิล์ม จึงจำเป็นให้ถอดของที่ทึบรังสีออก การเตรียมผู้ป่วยแบ่งดังนี้ การถ่ายภาพรังสีทั่วไป การตรวจพิเศษทางรังสี

การเตรียมผู้ป่วยถ่ายภาพรังสีทั่วไป

การถ่ายภาพรังสีทรวงอก(CXR) เปลี่ยนเสื้อที่มีกระดุม,เสี้อใน(ยกทรง)สุภาพสตรี สร้อยคอ เข็มขัดสำหรับผ้าถุง

การถ่ายภาพรังสีศรีษะ(Skull) ยางมัดผม กิ๊ปติดผม ต่างหู สร้อยคอ

การถ่ายภาพรังสีช่องท้อง(Abdomen,KUB) เสื้อ,กางเกง กางเกงในที่มีกระดุม,ซิป ตะกรุด,ปลัดขลิก

การถ่ายภาพรังสีกระดูกเชิงกราน(Pelvic) กางเกง กางเกงในที่มีซิป,กระดุม ตะกรุด,ปลัดขิก

การเตรียมผู้ป่วยรับการตรวจพิเศษทางรังสี

Intravenous pyelography (I. V. P Intravenous pyelography (I.V.P.) เป็นวิธีการตรวจทางรังสีเพื่อดูรูปร่างลักษณะ และการทำงานของ Kidneys Ureter และ Bladder โดยการฉีด สารทึบแสงเข้าเส้นเลือดดำประกอบการถ่ายภาพ เอ็กซเรย์

การเตรียมตัวก่อนตรวจ. 1 การเตรียมตัวก่อนตรวจ 1.ในรายผู้ป่วยอายุเกิน 35 ปี ขอทราบผลตรวจเลือด BUN/Cr. ถ้าผิดปกติให้ปรึกษาแพทย์ผู้สั่งตรวจ 2.ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารอ่อนอย่างน้อย 2 วัน ก่อนตรวจ 3.คืนวันก่อนตรวจให้ผู้ป่วยรับประทานยาระบายเวลาประมาณ 19.00 น. 4.งดน้ำ งดอาหาร งดยา บุหรี่หรือของขบเคี้ยวต่างๆ หลังเที่ยงคืน

การเตรียมตัวก่อนตรวจ. 5. สวนอุจจาระก่อนมาตรวจ และมาตรงเวลานัด. 6 การเตรียมตัวก่อนตรวจ 5. สวนอุจจาระก่อนมาตรวจ และมาตรงเวลานัด 6.ในระหว่างการทำการตรวจ ผู้ป่วยห้ามปัสสาวะหรือดื่มน้ำจนกว่าการตรวจจะเสร็จสิ้น