โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อ
เด็กฉลาด สร้างได้ด้วย ไอโอดีน.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
รายงานสุขศึกษา เรื่อง : โรคคอพอก ส่ง อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย 1. ด. ญ
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
โรคเอสแอลอี.
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคในระบบต่อมไร้ท่อ.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน Diseases caused by hormonal disorders.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
Mental Retardation เด็กปัญญาอ่อน
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
โรคเบาหวาน ภ.
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
โรคเบาหวาน Diabetes.
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25 เสนอโดย ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต ต. เขาสามสิบ อ. เขาฉกรรจ์ จ. สระแก้ว น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ

โรคเบาหวาน

โรคเบาหวานคือ ??? โรคเบาหวาน เกิดจากความ ผิดปกติของต่อมที่ตับอ่อน ซึ่งไม่สามารถผลิต หรือหลั่งฮอร์โมนอินซูลิน(Insulin)ออกมาให้มาก เพียงพอที่จะใช้เปลี่ยนน้ำตาลในร่างรายที่ได้รับ จากอาหารจำพวกไขมัน โปรตีนและแป้ง ให้ เกิดเป็นพลังงาน จึงทำให้ระดับน้ำตาลในเลือด สูงมากกว่าปกติ น้ำตาลส่วนเกินจะถูกขับ ออกมาทางปัสสาวะพร้อมกับน้ำ ทำให้ปัสสาวะ บ่อยและปัสสาวะมีจำนวนมาก ปัสสาวะมีรส หวาน จึงเรียกโรคนี้ว่า “เบาหวาน”

ฮอร์โมนอินซูลิน อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่สร้างขึ้นโดยกลุ่ม เซลล์ภายในตับอ่อน มีหน้าที่นำ น้ำตาลในเลือดไปสู่เนื้อเยื่อต่างๆ ทั่วร่างกาย เพื่อสร้างพลังงาน ร่างกายผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีอินซูลินไม่เพียงพอก็จะทำให้มีน้ำตาลในเลือด สูงขึ้น เมื่อร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง เรื้อรัง ก็จะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่อระบบ ต่างๆ ของร่างกายตามมาได้ เช่น โรคหลอด เลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองอุดตัน ไตวาย และปลายประสาทเสื่อม ทำให้มีอาการชาซึ่ง เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดแผลบริเวณ อวัยวะส่วนปลายได้   

โรคไทรอยด์

โรคไทรอยด์คือ ??? ไทรอยด์เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดใน ร่างกายมนุษย์ ส่งผลเสียอย่างรุนแรงหากมัน ทำงานผิดปกติ ซึ่งต่อมไทรอยด์นี้มีหน้าที่ผลิต “ฮอร์โมนไทรอยด์” ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่มี ความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเจริญเติบโตของ ร่างกาย รวมทั้งควบคุมการทำงานของอวัยวะ อื่นๆ ทั่วร่างกาย เมื่อต่อมไทรอยด์ทำงาน ผิดปกติ จึงส่งผลให้ทุกระบบปรวนแปร ทั้ง ร่างกาย จิตใจ และสมอง โดยเฉพาะต่อ ประสาทการทำงานอัตโนมัติ ซึ่งเป็นสิ่งที่เรา ควบคุมไม่ได้

ฮอร์โมนไทรอยด์ การสร้างและการหลั่งฮอร์โมนไทรอยด์จากต่อม ไทรอยด์ จะถูกกระตุ้นโดยฮอร์โมน TSH (thyroid stimulating hormone) จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า เมื่อ มีปริมาณไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูงกว่าปกติ จะมีผลย้อนกลับไปยับยั้งให้ต่อมใต้สมองส่วน หน้าหลั่ง TSH น้อยลง ทำให้ต่อมไทรอยด์ลด การหลั่งไทรอยด์ฮอร์โมน แต่ถ้าหากปริมาณ ฮอร์โมน thyroxin ในเลือดน้อยกว่าปกติ จะมีผล กระตุ้นให้ต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลั่ง TSH ออกมากระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์หลั่งไทรอยด์ ฮอร์โมน เพิ่มขึ้น

โรคเอ๋อ(ภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมนในเด็ก) ภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมนในเด็ก เกิดได้ 2 กรณีคือ การผิดปกติของการสร้างไทรอยด์ฮอร์โมนตั้งแต่ กำเนิด คือเกิดมา โดยไม่มีต่อมไทรอยด์นี้มาด้วย หรือ ถ้ามีก็อยู่ผิดที่ และไม่สามารถทำงานได้อย่าง ปกติ แต่ทารกที่คลอดออกมานั้น จะดูไม่ออกว่ามี ปัญหานี้ เนื่องจากตอนที่ทารกอยู่ในครรภ์นั้นทารกจะ ได้รับไทรอยด์ฮอร์โมน จากแม่มาช่วยในการ เจริญเติบโต ระหว่างอยู่ในครรภ์ แต่ต่อมา ไม่นาน (เพียงไม่กี่สัปดาห์) ก็จะมีภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมน ทำ ให้ทารกมีลักษณะเซื่องซึม, เอาแต่นอน, ทานนมไม่เก่ง, ท้องผูก, ท้องอืด, สะดือจุ่น, มีภาวะตัวเหลืองหลังคลอด นานกว่าปกติ , ไม่ค่อยร้องกวน (ทำให้คุณพ่อ คุณ แม่ บางคนคิดว่า ลูกเป็นเด็กเลี้ยงง่าย) ร้องเสียงแหบ ดูลิ้นใหญ่ จุกปาก, ผิวแห้งเย็น, เติบโตช้า , มีการ พัฒนาการช้ากว่าเกณฑ์อายุในทุกๆด้าน 

โรคเอ๋อ(ภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมนในเด็ก) ภาวะการขาดไทรอยด์ฮอร์โมนที่มาเป็น ภายหลัง   มีการติดเชื้อของต่อมไทรอยด์ หรือ ได้รับยาบางชนิดที่รบกวน การทำงานของต่อม ไทรอยด์ ทำให้มีการสร้างไทรอยด์ฮอร์โมนน้อยลง จนทำให้เกิดอาการเอ๋อได้ เด็กที่เกิดมาจะดูเป็น ปกติ และ ในช่วงแรกก็มี การเจริญเติบโต และ พัฒนาการได้สมวัย แต่เมื่อเริ่มมีการขาดไทรอยด์ ฮอร์โมน ก็จะมีอัตราการเจริญเติบโต ค่อยๆช้าลง และเริ่มมีอาการ ของการขาดไทรอยด์ฮอร์โมน ให้เห็นชัดเจนขึ้น เด็กจะมี ตัวเตี้ย เฉื่อยชา และ มีอายุกระดูกช้า

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 จัดทำโดย 1. นายพิมุกต์ ภุคุกะ เลขที่ 5ก. 2. นายศรชัย ลีฮวด เลขที่ 8ก. 3. นายตะวัน ตันตระกูล เลขที่ 6 ข. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2