สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
จุดประสงค์การเรียนรู้ สามารถหาความสัมพันธ์ของพารามิเตอร์ในการเชื่อมต่อแบบขนาน สามารถหาความสัมพันธ์ของพารามิเตอร์ในการเชื่อมต่อแบบอนุกรม สามารถหาความสัมพันธ์ของพารามิเตอร์ในการเชื่อมต่อแบบคาสแคด
เนื้อหา การเชื่อมต่อแบบขนาน การเชื่อมต่อแบบอนุกรม การเชื่อมต่อแบบคาสแคด บทสรุป
การเชื่อมต่อของโครงข่ายสองพอร์ท การแบ่งโครงข่ายขนาดใหญ่ที่มีความซับซ้อนให้เป็นวงจรขนาดย่อยหลายๆวงจรที่ต่อเชื่อมกัน โดยที่โครงข่ายขนาดย่อยที่กำหนดนี้จะเชื่อมต่อแบบวงจรสองพอร์ท การเชื่อมต่อแบบขนาน การเชื่อมต่อแบบอนุกรม การเชื่อมต่อแบบคาสแคด การเชื่อมต่อแบบขนาน (Parallel connection) เลือกแอดมิดแตนซ์พารามิเตอร์ในการอธิบายคุณสมบัติของวงจร
วงจรสมมูล วงจรสองพอร์ทชุด A เมื่อ วงจรสองพอร์ทชุด B เมื่อ
การเชื่อมต่อแบบอนุกรม (Series connection) เลือกอิมพิแดนซ์พารามิเตอร์ในการอธิบายคุณสมบัติของวงจร
วงจรสมมูล เมื่อ วงจรสองพอร์ทชุด A วงจรสองพอร์ทชุด B เมื่อ และ
การเชื่อมต่อแบบคาสแคด (Cascade connection) เป็นการเชื่อมต่อเอาท์พุทพอร์ทของวงจรชุดหนึ่งต่อกับพอร์ทอินพุทของวงจรอีกชุดหนึ่ง โดยเลือกทรานสมิสชั่นพารามิเตอร์ในการอธิบายคุณสมบัติของวจร วงจรสมมูล ทรานสมิสชั่นพารามิเตอร์รวม เชื่อมต่อแบบคาสแคดจำนวน n ชุด ทรานสมิสชั่นพารามิเตอร์รวม
ตัวอย่างที่ 11 จงหา Z Parameter จงหา Y Parameter จงหาT Parameter และหาผลจากการนำวงจรต่อเพิ่มเป็น 2 ชุดในลักษณะการเชื่อมต่อแบบขนานและแบบคาสแคด วิธีทำ ค่าอิมพิแดนซ์พารามิเตอร์ เปิดตารางที่ 9.2
เมื่อ และ นำวงจรแทนด้วยแอดมิดแตนซ์พารามิเตอร์ มาต่อขนานกันเป็น 2 ชุด แอดมิดแตนซ์พารามิเตอร์รวม นำวงจรชุดนี้แทนด้วยทรานสมิชชันพารามิเตอร์ มาต่อคาสแคด 2 ชุด ทรานสมิชชันพารามิเตอร์รวม
กำหนดให้ I2 = 0 จงหาฟังก์ชันถ่ายโอน ตัวอย่างที่ 12 วิธีทำ ใช้ T – Matrix ในการวิเคราะห์หาคำตอบ
ฟังก์ชันถ่ายโอน
บทสรุปสัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท การเชื่อมต่อวงจรที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนตั้งแต่สองพอร์ทขึ้นไป จะทำการแทนด้วยโครงข่ายสองพอร์ทในรูปแบบการเชื่อมต่อแบบต่างๆ การเชื่อมต่อแบบขนาน การเชื่อมต่อแบบอนุกรม การเชื่อมต่อแบบคาสแคด ข้อจำกัดของวงจรสองพอร์ท ในวงจรจะต้องไม่มีแหล่งจ่ายอิสระอยู่ภายในวงจร สภาวะเริ่มต้นการทำงานของวงจรเป็นศูนย์
สอบย่อยครั้งที่ 2