สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรลบแรงดัน (1).
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน-กระแสของ MOSFET
Bipolar Junction Transistor
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
Sinusoidal Steady-State Analysis
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System

ระบบไฟฟ้าสามเฟส จุดประสงค์การเรียนรู้ ศึกษาคุณลักษณะของวงจรสามเฟส ที่ใช้ในการกำเนิด, ส่งและจำหน่ายพลังงานไปสู่ โหลดอย่างง่าย

ระบบไฟฟ้าสามเฟส ทำไมต้องศึกษาระบบไฟฟ้าสามเฟส การใช้งานโดยทั่วไปเป็นระบบไฟฟ้าสามเฟสสมดุลเนื่องจากกำลังไฟฟ้าที่จ่ายมีค่าคงที่สม่ำเสมอ อุปกรณ์ต่างๆของระบบไฟฟ้าสามเฟสมีขนาดใหญ่และมี ประสิทธิภาพ สร้างสถานีจ่ายกำลังในราคาถูกกว่าระบบเฟสเดียว สายส่งกำลังในระบบสามเฟสใช้ทองแดงน้อยกว่าสายส่งเฟสเดียวที่สมมูลกัน ใช้ไฟฟ้าเฟสเดียวจากระบบไฟฟ้าสามเฟสได้

ตัวห้อยของแรงดันและกระแสของอุปกรณ์สองขั้ว แรงดัน Vab หมายถึงศักย์ไฟฟ้าที่จุด a เทียบกับจุด b กระแส I = Iab เป็นกระแสที่ไหลผ่านจากโหนด a ไปยังโหนด b

ตัวอย่างที่ 1 Voltage Current ศักย์ไฟฟ้าที่ขั้ว B, (ข) จงหากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน Voltage Current

ระบบไฟฟ้าเฟสเดียว กำลังไฟฟ้าที่เวลาใดๆของสัญญาณ กำหนดให้ สูตรตรีโกณ เมื่อ

ตัวอย่างที่ 2 กำหนดให้ V และ จงหา แรงดันเฟสเซอร์ กระแสเฟสเซอร์ กระแสที่แปรตามเวลา กำลังไฟฟ้าที่เวลาใดๆ W ไปยังหน้าที่16 ตัวอย่างที่ 5

ตัวอย่างที่ 3 ระบบไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านพักอาศัยทั่วไปในประเทศไทยมีค่าแรงดัน 220 V หมายถึงแรงดัน  ความถี่เท่าไร ตอบ เป็นแรงดันอาร์เอ็มเอส ส่วนแรงดันยอดคลื่น สมการของแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับหรือสัญญาณไซน์ที่ความถี่ 50 Hz

แหล่งจ่ายแรงดันสามเฟสแบบสมดุล แรงดันเฟส (Phase voltage) แรงดันระหว่างสายหรือแรงดันไลน์ (Line – to – line voltage) ความสัมพันธ์ของแรงดันเเต่ละเฟส การลำดับเฟสแบบบวก (positive phase sequence) หรือการลำดับเฟส abc การลำดับเฟสแบบลบ (negative phase sequence) หรือการลำดับเฟส acb

เฟสเซอร์ไดอะแกรมของการลำดับเฟส

รูปคลื่นความสัมพันธ์ของแรงดันไฟฟ้าสามเฟส เมื่อ ความสัมพันธ์ของแรงดันเฟสในโดเมนเวลา

ตัวอย่างที่ 4 หาแรงดันเฟสเซอร์ของเฟส b,c วิธีทำ แรงดันเฟส b จงหาค่าแรงดันต่างๆกำหนดให้แหล่งจ่ายไฟฟ้าสามเฟสสมดุลมี แรงดันเฟส a เป็นแรงดันอ้างอิง หาแรงดันเฟสเซอร์ของเฟส b,c วิธีทำ แรงดันเฟส b แรงดันเฟส c หาแรงดันที่เวลาใดๆของเฟส a,b,c

คุณสมบัติระบบไฟฟ้าสามเฟสที่สมดุล ผลรวมแรงดันเฟสเซอร์ของแรงดันเฟสแต่ละเฟสมีค่าเป็นศูนย์ ขนาดและเฟส กำหนดให้แรงดัน เป็นแรงดันอ้างอิง ลำดับเฟสแบบบวก ไปยังหน้าที่22

คุณสมบัติระบบไฟฟ้าสามเฟสที่สมดุล ผลรวมของแรงดันเฟสที่แปรตามเวลาของสัญญาณไซน์มีค่าเป็นศูนย์ สูตรตรีโกณ

การเปรียบเทียบกำลังไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าเฟสเดียวและระบบไฟฟ้าสามเฟส กำลังไฟฟ้าที่เวลาใดๆของระบบไฟฟ้าเฟสเดียว แรงดันเฟสที่เวลาใดๆของระบบไฟฟ้าสามเฟส กระแสที่จ่ายโดยแหล่งจ่ายไปยังโหลด

การพิสูจน์กำลังไฟฟ้าที่เวลาใดๆของระบบไฟฟ้าสามเฟส สูตรตรีโกณ

ตัวอย่างที่ 5 จงหากำลังไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าสามเฟสสมดุล ลำดับเฟสแบบบวก กำหนดให้เฟส a เป็นเฟสอ้างอิง วิธีทำ ไปยังหน้าที่ 6 ตัวอย่างที่2

การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลด

การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลด

การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลดที่สมดุลแบบ Y- Y

การพิสูจน์ความสัมพันธ์ของแรงดันไลน์และแรงดันเฟสของ Y-Y กำหนดให้ หาแรงดันไลน์ หาแรงดันไลน์

เฟสเซอร์ไดอะแกรมของแรงดันเฟสและแรงดันไลน์ ของระบบสามเฟสสมดุลต่อแบบวาย สมการความสัมพันธ์ของแรงดันไลน์และแรงดันเฟส ขนาด มุมเฟส

การค่าของกระแสต่อเฟสในระบบไฟฟ้าสามเฟสสมดุล พิจารณาที่เฟส a ที่เฟส b กระแสที่ไหลในสายนิวทรัล ที่เฟส c ไปยังหน้าที12

สรุปเนื้อหาในสัปดาห์ที่ 5 สถานีส่งจ่ายกำลังไฟฟ้าจะใช้ระบบไฟฟ้าแบบสามเฟสสมดุล ให้กำลังไฟฟ้าที่ราบเรียบกว่าระบบไฟฟ้าเฟสเดียว แรงดันประกอบด้วยคือ แรงดันเฟสและแรงดันระหว่างสาย การลำดับเฟส(1)ลำดับเฟสแบบบวก(2)การลำดับเฟสแบบลบ การวิเคราะห์วงจรระบบสมดุลพิจารณาต่อเฟสง่ายในหา ความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแส การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลดแบบต่างๆ