แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แผนภูมิที่ 1 จำนวนเหตุการณ์ที่ผู้ได้รับผลกระทบฯ ได้รับการเฝ้าระวังปัญหาการบาดเจ็บทางกาย
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การใช้เวลาว่างและนันทนาการ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมจิตอาสาโรงพยาบาลลำปาง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
Communities of Practice (CoP)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
หน้าที่กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ในศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัย
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการทำโครงงาน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
รู้สึกอย่างไร เมื่อรับรู้ว่า
ระยะเว ลา ประเด็น วิธีการ / ช่องทาง การ ประชาสัมพั นธ์ ผู้รับผิดช อบ ตุลาคม ๒๕๕๗ วันสุขภาพจิตโลก ๑๐ - ประเด็นที่กรมสุขภาพจิตกำหนด ความสุขสร้างได้ด้วยตัวเรา.
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แผนฟื้นฟูผู้ประสพอุทกภัย โครงการสายใยรักแห่ง ครอบครัวในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การพัฒนาสติเพื่อสุขภาพ
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข

แนวทางการเสริมพลังใจบุคลากรสาธารณสุข (Helper) ประเมินสภาวะสุขภาพจิต จัดกิจกรรมกลุ่มสร้างความเข้มแข็ง ให้คำปรึกษา/ส่งต่อ Need รายบุคคล? ร่วมกันวางแผนในอนาคต สรุปผลการดำเนินงาน

และบุคลากรสำคัญในหน่วยงาน - ขั้นตอน กิจกรรม / วิธีปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติ กลุ่ม เป้าหมาย แหล่ง ข้อมูล / เอกสาร 1.ประเมินภาวะจิตใจของสมาชิกในองค์กร สัมภาษณ์หัวหน้าหน่วยงานและบุคลากรสำคัญที่รู้ ข้อมูลว่ามีเจ้าหน้าที่คนใดประสบภัยน้ำท่วมและมี ใครบ้างที่มีความเหนื่อยล้า เครียด กังวล ท้อแท้ สิ้นหวัง ฯลฯ จากวิกฤติครั้งนี้ ขอให้หัวหน้าหน่วยงานจัดประชุมบุคลากรในสังกัด เพื่อจัดกิจกรรมเสริมพลังใจ โดยใช้เวลาตามที่ เห็นสมควร(ประมาณ 2 ชั่วโมง) ทีมสุขภาพจิต หัวหน้าหน่วยงาน และบุคลากรสำคัญในหน่วยงาน - 2.จัดกิจกรรมกลุ่มเสริมพลังใจ จัดให้สมาชิกนั่งเป็นวงกลม ถ้ามีสมาชิกมากว่า 15 คน ควรจัดเก้าอี้เป็นครึ่งวงกลม 2 ชั้น ดำเนินกิจกรรมเป็น 3 ขั้นตอน ใช้เวลาขั้นตอนละ ประมาณ 30 นาทีในกลุ่มขนาดไม่เกิน 15 คน ดังนี้ ขั้นที่ 1 : แนะนำตัว / เล่าความภูมิใจของตนเอง ในการผ่านวิกฤติครั้งนี้ ขั้นที่ 2 : แต่ละคนเล่าอุปสรรคและวิธีการที่ ตนเองเอาชนะ / ผ่านพ้นอุปสรรคนั้นๆ ขั้นที่ 3 : ร่วมกันคิดและวางแผนการดูแลและ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในองค์กร ถ้าเป็นกลุ่มขนาดใหญ่ประมาณ 15-30 คน ในแต่ละขั้นตอนจะต้องแบ่งกลุ่มย่อย 3-4 คน คุยกันตามประเด็นที่กำหนด แล้วค่อยมาสรุปให้กลุ่มใหญ่ฟัง โดยมีทีมสุขภาพจิตเป็นคุณอำนวย (facilitator) บุคลากรในสสจ./รพช./ รพสต.

ในกลุ่มที่มีปัญหารุนแรงควรนัดติดตามและส่งต่อตามความเหมาะสม ขั้นตอน กิจกรรม / วิธีปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติ กลุ่ม เป้าหมาย แหล่ง ข้อมูล / เอกสาร 3.ประเมิน สุขภาพจิต หลังกิจกรรมกลุ่มเสริมพลังใจ ขอให้ทุกคนคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตด้วย ST 5 และ DS 8 หรือ 9Q/8Q ตามที่จังหวัดเลือก ให้คำปรึกษากลุ่มที่ประเมินว่ามีปัญหาหรือกลุ่มที่แจ้งความประสงค์ขอรับคำปรึกษา รวมทั้งกลุ่มที่มีผู้ส่งต่อหรือแนะนำให้ได้รับคำปรึกษาตามเวลาและสถานที่ที่เหมาะสม ในกลุ่มที่มีปัญหารุนแรงควรนัดติดตามและส่งต่อตามความเหมาะสม ทีมสุขภาพจิต บุคลากรในสสจ./รพช./ รพสต. แบบประเมิน ST 5 , 9Q/8Q หรือ DS 8 (เอกสาร 3.1) 4.ร่วมกันวางแผนการดำเนินงานในพื้นที่ นำเสนอแนวทางการดำเนินงานซ่อม/สร้างสุขภาพจิตผู้ประสบภัยให้กับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ซักถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หน่วยงานจัดทำหรือปรับแผนการดำเนินงานในพื้นที่ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในรพช./สสจ./รพสต. เอกสาร บทที่ 4 5.สรุปผล การ ดำเนินงาน เขียนสรุปผลการดำเนินงานตามบันทึก นำส่งบันทึกสรุปผลการดำเนินงานตามที่กำหนด - บันทึกสรุป ผลการดำเนินงาน (เอกสาร 3.2)

หลักการ เสริมพลัง ใช้ศักยภาพของสมาชิกมากกว่าผู้นำกลุ่ม ไม่เน้นการระบาย(เล่าปัญหา) สมดุลระหว่าง อารมณ์กับการปรับตัว

กระบวนการกลุ่ม 3 ขั้นตอนหลัก กระบวนการกลุ่ม 3 ขั้นตอนหลัก แนะนำวัตถุประสงค์และแต่ละคนเล่าสถานการณ์ที่ประสบคนละ 1 นาที 10 นาที สิ่งดีๆ ที่ได้พบท่ามกลางวิกฤต 20 นาที เอาชนะอุปสรรคมาได้อย่างไร 20 นาที มีอะไรที่มาช่วยกันได้ 20 นาที มีใครบ้างที่ต้องการความช่วยเหลือเฉพาะด้านจิตใจสรุปและปิดคนละ 1 นาที 10 นาที

Group Setting ขนาดกลุ่มประมาณ 8 -12 คน ถ้ามากกว่านั้นควรแบ่งกลุ่มเพิ่ม ประกอบด้วยสมาชิกในองค์กรที่ประสบเหตุการณ์ จัดกลุ่มเป็นวงกลม ใช้แต่เก้าอี้ ใช้เวลาประมาณชั่วโมงครึ่ง

ตัวอย่าง(จริง)

ขั้นตอนที่ 1 (สรุปเหตุการณ์โดยย่อ) 6 5 4 3 2 7 1 L 8 9 10 11 แม่อยู่กับเพื่อนบ้าน 5 8 น้ำท่วมทางออก จึงมาอยู่กรมแต่น้ำท่วม เข้าบ้านด้วย เปลี่ยนที่อยู่ 3 ครั้ง 2 ปิดบ้านไว้ ข้าวของเสียหายหนัก 9 หนีน้ำพร้อมลูกและ กลับมาขนย้ายสุนัข 6 ตัว 1 - ทำความรู้จัก - เห็นภาพรวมของกลุ่ม

สิ่งดีๆ ที่ได้พบ 6 4 4 ได้เตรียมตัวล่วงหน้า ดูแลญาติพี่น้อง 11 4 ได้เตรียมตัวล่วงหน้า ดูแลญาติพี่น้อง พึ่งตนเอง มีคนที่แย่กว่าตน ได้เพื่อนใหม่ ห่วงใย และติดต่อกัน 6 11 มองเห็นด้าน+ของเหตุการณ์

เอาชนะ อุปสรรคได้อย่างไร อารมณ์ขัน บาดเจ็บจากการตกเรือ ดีใจที่ไม่รุนแรง 5 7 8 9 7 แม่ที่อยู่กับเพื่อนบ้านมีโรคประจำตัว พยายามไปเยี่ยมดูแลไม่ให้ขาดยา 5 9 รถจมน้ำ ควรมีสติ ช่วยกันในครอบครัว 8 กลับไปดูบ้าน 2 ครั้ง เป็นบ้านที่เพิ่งปรับปรุงใหม่ คิดว่า “เป็นของนอกตัว” เตรียมตัวใหม่ สรุป เรียนรู้วิธีคิด/วิธีแก้ปัญหา

มีอะไรที่ช่วยกันได้ แบ่งหน้าที่ทำงาน แบ่งปันอาหาร ไปดูบ้าน/พาเพื่อนออกจากบ้าน เตรียมจิตอาสาไปทำความสะอาด โดยไม่เป็นภาระของเจ้าของบ้าน (อาหาร/อุปกรณ์) สิ่งที่ต้องการจากองค์กร : รถ ข้อเสนอแนะอื่นๆ : บทบาทสหกรณ์ ตั้งคณะทำงาน

ใครบ้างที่ต้องการความช่วยเหลือเฉพาะ อาการบอกเหตุ: เศร้ากังวลจนทำอะไรไม่ถูก ลองทำแบบทดสอบ ใครบ้างในกลุ่ม/นอกกลุ่ม สรุป สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่จะทำต่อไป