จำนวนเต็มกับการหารลงตัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
Advertisements

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
บทที่ 5 คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
BY PRATIPA GEENASON MATTAYOM 4/1 CODE 15
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จำนวนเต็มกับการหารลงตัว ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5

การประยุกต์ใช้หลักการหารลงตัว ฟังก์ชันแฮช การเลือกตัวเลขสุ่มแบบเทียม การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลโดยการ เข้ารหัส

การหารลงตัว เมื่อพิจารณาจำนวนเต็มสองจำนวนซึ่งตัวหาร ไม่เท่ากับ 0 ผลหารที่ได้อาจเป็นจำนวนเต็ม หรือไม่ก็ได้ เช่น 27/3 = 9, 15/2 = 7.5 จะเห็น ว่าผลหารของ 27/3 คือ 9 เป็นจำนวนเต็ม ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่า 3 หาร 27 ลงตัวดัง บทนิยามต่อไปนี้

บทนิยาม ให้ a และ b เป็นจำนวนเต็มโดยที่ a ≠ 0 จะกล่าวว่า a หาร b ลงตัวก็ต่อเมื่อ มีจำนวน เต็ม c ซึ่งทำให้ b = ac เขียนแทนด้วย a | b เรียก a ว่า ตัวหารตัวหนึ่งของ b และ เรียก b ว่า พหุคูณของ a และถ้า a หาร b ไม่ลงตัว เขียนแทนด้วย a ∤ b

ตัวอย่างที่ 1 จงพิจารณาว่า 4 | 20, 7 | (-42), และ 10 | 18 หรือไม่ จงพิจารณาว่า 4 | 20, 7 | (-42), และ 10 | 18 หรือไม่ วิธีทำ เนื่องจาก 20 = 4(5), -42 = 7(-6) และ 0 = 21(0) ดังนั้น 4|20, 7 | (-42), และ 21|0 และเนื่องจาก 18/10 = 1.8 ไม่เป็นจำนวน เต็มจะได้ว่า 10 ∤ 18

ข้อสังเกต ในการใช้สัญลักษณ์ a | b จะหมายถึงตัวหาร a ≠ 0 1. ถ้า a ≠ 0 แล้ว a|0 และ a|a 2. a|1 ก็ต่อเมื่อ a = 1 หรือ a = -1