นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
Advertisements

ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
สับเซตและเพาเวอร์เซต
แผนภาพเวนน์–ออยเลอร์ (Vernn–Euler Diagram)
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
คอมพลีเมนต์ นิยาม คอมพลีเมนต์ของเซต A เขียนแทนด้วย หมายถึง เซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งเป็นสมาชิกของเซต แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Probability & Statistics
Probability & Statistics
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
การดำเนินการของเซต 1. ยูเนียน
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Mathematics for computing I
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ความสัมพันธ์ดีกรี n และการประยุกต์ใช้งาน
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1

นิยาม 4.1 A และ B เป็นเซตที่เท่ากันก็ต่อเมื่อเซตทั้งสองมี สมาชิกเหมือนกัน เขียนแทนด้วย A = B นั่นคือ A = B  x[x  A  x  B] หรือ A = B  [ x[x  A  x  B]  x[x  B  x  A] ]

นิยาม 4.1 จากนิยาม 4.1 เซตต่อไปนี้เป็นเซตเดียวกัน {1,2,3} = {1,3,2} = {2,1,3} = {2,3,1} = {3,1,2} = {3,2,1} นั่นคือ ลำดับของสมาชิกไม่มีผลต่อคุณสมบัติของ เซต

นิยาม 4.1 จากนิยาม 4.1 เซตต่อไปนี้เป็นเซตเดียวกัน {1,1,1,2,3,3,3,2} = {1,2,3} นั่นคือ การซ้ำกันของสมาชิกในเซตไม่มีผลต่อ สมบัติของเซต

นิยาม 4.2 ให้ A และ B เป็นเซต เซต A เป็นสับเซต (subset) ของเซต B เขียนแทนด้วย A  B ถ้าสมาชิกทุกตัว ของเซต A เป็นสมาชิกของ B นั่นคือ A  B  x[xAxB] ถ้า AB และ AB จะเรียก A ว่าเป็นสับเซตแท้ (proper subset) ของ B ถ้า A ไม่เป็นสับเซตของเซต B จะเขียนแทนด้วย AB

ตัวอย่างสับเซตและสับเซตแท้ (ก) เซตของจำนวนเต็มบวกเป็นสับเซตแท้ของ จำนวนเต็ม (ค) {2,4,6,8} เป็นสับเซตของ {2,4,6,8} (ข) {2,4,6} เป็นสับเซตของ {2,4,6,8}

ทฤษฎี 4.1 ให้ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์ และ A เป็นเซตแล้ว AU

ทฤษฎี 4.2 ให้ A และ B เป็นเซต A = B ก็ต่อเมื่อ AB และ BA

ทฤษฎี 4.3 ให้ A, B และ C เป็นเซต ถ้า AB และ BC แล้ว AC

ทฤษฎี 4.4 ให้ A เป็นเซตใดๆแล้ว  A สังเกตว่า  ไม่เหมือนกับ {} เพราะ {} ประกอบด้วยสมาชิก 1 ตัวและเซตต่อไปนี้แตกต่าง กันทั้งหมด , {}, {{}}, {{{}}},…

ตัวอย่างการหาสับเซต (ก) สับเซตของ {2,4} ประกอบด้วย ,{2},{4},{2,4} (ก) สับเซตของ {2,4} ประกอบด้วย ,{2},{4},{2,4} (ข) สับเซตของ {2} ประกอบด้วย ,{2} สังเกตว่า ถ้าเซตมีจำนวนสมาชิกเท่ากับ n จะมี จำนวนสับเซตทั้งหมดเท่ากับ 2n เซต

นิยาม 4.3 ให้ A เป็นเซตใดๆ พาวเวอร์เซต (power set) ของ A เขียนแทนด้วย P(A) หมายถึงเซตของสับ เซตทั้งหมดของเซต A

ตัวอย่างการหาพาวเวอร์เซต (ก) ให้ A = {2,4} แล้ว P(A) = { ,{2},{4},{2,4} } (ข) ให้ A=  P(A) = {} หลักการหาพาวเวอร์เซตคือ ให้เขียนสับเซตทั้งหมดของเซต แล้วใส่เครื่องหมาย {} คร่อมจำนวนสับเซตทั้งหมดนั้นไว้ ดังนั้นจำนวนสมาชิกของ P(A) = 2n เมื่อ A มีสมาชิก n ตัว