ครูฉัตร์มงคล สนพลาย. เมตริกซ์ (Matrices) เมตริกซ์ คือ การจัดเรียง จำนวนให้อยู่ในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งประกอบด้วย แถว (Row) และ หลัก (Column)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
Advertisements

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
โจทย์ 1. x + y + 2z + 3w = 13 x - 2y + z + w = 8 3x + y + z - w = 1
Data Type part.II.
ตัวอย่างโปรแกรม สร้างแถบเครื่องมืออย่างง่าย ประกอบด้วย
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
อสมการ.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
Arrays.
Arrays.
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
SCC : Suthida Chaichomchuen
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Matrix and Determinant
อสมการ (Inequalities)
CS Assembly Language Programming Period 14.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
การใช้คำสั่งเงื่อนไขใน exel
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
การสร้างตาราง,ฟอร์มและการส่งค่า Get and Post คอลโทรลต่าง ๆ
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Electrical Engineering Mathematic
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai.
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
นางสาววิรากร ใจเอื้อย ตอนที่ 6 นางสาววิรากร ใจ เอื้อย.
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ปัญหา คิดสนุก.
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย

เมตริกซ์ (Matrices) เมตริกซ์ คือ การจัดเรียง จำนวนให้อยู่ในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งประกอบด้วย แถว (Row) และ หลัก (Column)

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย เมตริกซ์ (Matrices) แต่ละแถวมีจำนวนตัวเลข เท่ากัน โดยมี วงเล็บ ( ) หรือ วงเล็บ [ ] ปิดหัวปิดท้าย เขียน แทนเมตริกซ์ ด้วยตัวอักษรตัว ใหญ่ A, B, C, …

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย ตัวอย่างการเขียนเมตริกซ์ หรือ

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย ตัวอย่างการเขียนเมตริกซ์ โดยที่เมตริกซ์ A มีขนาดหรือ มิติ เป็น 2 x 3 เพราะมีแถว (Row) 2 แถว และมีหลัก (Column) 3 หลัก

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย ตัวอย่างการเขียนเมตริกซ์ สมาชิก ของเมตริกซ์นี้จะ เขียนในรูปทั่ว ๆ ไป เป็น a ij โดย ที่ i เป็นตัวเลขบอกแถว และ j เป็นตัวเลขบอกหลักของสมาชิก นั้น

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย ตัวอย่างการเขียนเมตริกซ์ ดังนั้น สมาชิก a21 เป็น สมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 2 หลักที่ 1 = 7 ซึ่งสมาชิกทุกตัวต้องอยู่ ภายในวงเล็บ เขียนแทนสมาชิก ของเมตริกซ์ ด้วยอักษรตัวเล็ก เช่น a, b, c, …

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย แถว และ คอลัมน์ เมตริกซ์ จะประกอบไปด้วย สมาชิกที่อยู่ในแนวนอน เรียกว่า แถว (Row) และ สมาชิกที่อยู่ในแนวตั้ง เรียกว่า หลัก (Column) เช่น

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย แถว และ คอลัมน์ เมตริกซ์ A เป็นเมตริกซ์ ขนาด 2 แถว 2 คอลัมน์ ( หลัก ) เขียนแทนด้วย 2 x 2

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย แถว และ คอลัมน์ เมตริกซ์ B เป็นเมตริกซ์ ขนาด 3 แถว 3 คอลัมน์ ( หลัก ) เขียนแทนด้วย 3 x 3

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย แถว และ คอลัมน์ เมตริกซ์ C เป็นเมตริกซ์ ขนาด 4 แถว 2 คอลัมน์ ( หลัก ) เขียนแทนด้วย 4 x 2

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย แถว และ คอลัมน์ จากเมตริกซ์ A สมาชิกที่อยู่ ในแถวที่ 2 หลักที่ 1 คือ 2 เขียน แทน a 21

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย แถว และ คอลัมน์ จากเมตริกซ์ B สมาชิกที่อยู่ ในแถวที่ 1 หลักที่ 3 คือ 0 เขียน แทน a 13

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย แถว และ คอลัมน์ จากเมตริกซ์ B สมาชิกที่อยู่ ในแถวที่ 3 หลักที่ 1 คือ 4 เขียน แทน a 31

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย แถว และ คอลัมน์ จากเมตริกซ์ C สมาชิกที่อยู่ ในแถวที่ 4 หลักที่ 2 คือ 1 เขียน แทน a 42

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย การคูณเมตริกซ์ (Matrix Multiplicaton) 1. การคูณเมตริกซ์ด้วยสเก ล่าร์ การคูณเมตริกซ์ด้วยสเก ล่าร์ หรือการคูณเมตริกซ์ด้วย ตัวคงที่ คือ การคูณเมตริกซ์ ด้วยเลขจำนวนจริง ของสมาชิก ทุกตัวในเมตริกซ์นั้น ซึ่งเรา เรียก เลขจำนวนจริงนั้นว่า เป็นสเกล่าร์

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย คุณสมบัติบางประการ ของการคูณเมตริกซ์ด้วย ตัวคงที่ 1) Ac = cA การสลับที่ ของการคูณ 2) (cd)A = c(dA) การเปลี่ยน กลุ่มของการคูณ 3) c(A+B) = cA+cB การแจก แจงของการคูณ 4) 1.A = A การเป็น เอกลักษณ์ของการคูณ

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย การคูณเมตริกซ์ (Matrix Multiplicaton) 2. การคูณเมตริกซ์ด้วย เมตริกซ์ การคูณเมตริกซ์ด้วย เมตริกซ์ จะเกิดเมตริกซ์ใหม่ที่ เป็นผลที่ได้จากการคูณ โดยมี หลักการคูณ ดังนี้

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย การสลับเปลี่ยนเมตริกซ์ (Transpose of a Matrix) ส่วนสลับหรือ ทรานสโพสข องเมตริกซ์ A เขียนแทนด้วย A T คือเมตริกซ์ที่มีขนาด nxm ซึ่งได้จากการสลับที่กันระหว่าง แถวและหลักของ A นั่นคือ แถวที่ i ของ A จะกลายเป็น หลักที่ i ของ A T ดังนั้นจะได้ A = [a ij ] mxn

ครูฉัตร์มงคล สนพลาย