สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
Advertisements

ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การสุ่มตัวอย่างและเครื่องมือวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
Management Information Systems
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
Menu Analyze > Correlate
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
สถิติในการวัดและประเมินผล
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูล.
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก ตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ กองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ กองบัญชาการฝึกศึกษาทหารอากาศ

สถิติ (Statistics) หัวข้อการบรรยาย ความหมาย ประเภทของสถิติ นิยามศัพท์ หลักการสุ่มตัวอย่าง แหล่งข้อมูล ประเภทของข้อมูล ระดับการวัด การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (การวัดแนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลาง และการวัดการกระจายของข้อมูล) ตัวอย่างการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ

ความหมายของสถิติ 1. ตัวเลข 2. ศาสตร์ (เก็บรวบรวมข้อมูล ,จัดระเบียบ, นำเสนอข้อมูล, วิเคราะห์ข้อมูล , แปลผลข้อมูล ) Statistics : The science of collection, organizing, presenting, analyzing and interpreting data to assist in making more effective decisions)

ประเภทของสถิติ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติเชิงอนุมาน(Inferential Statistics)

นิยามศัพท์และสัญลักษณ์ ประชากร (Population) , N ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) , ตัวอย่าง (Sample), n ค่าสถิติ (Statistic) , S.D.

หลักการสุ่มตัวอย่าง แบบสุ่ม (Random Methods) แบบง่าย (Simple Random Method) แบบเป็นระบบ (Systematic Random Method) แบบแบ่งชั้น (Stratified Random Method) แบบกลุ่ม (Cluster Random Method)

หมู่บ้านดาวทอง 14 หลัง ต้องการตัวอย่าง 5 หลัง ตัวอย่างการสุ่มแบบ Systematic Random Method หมู่บ้านดาวทอง 14 หลัง ต้องการตัวอย่าง 5 หลัง

1. นำบ้านมาเข้าแถวโดยใส่ตัวเลขแบบสุ่ม 12 13 14 6 9 4 5 10 11 1 2 3 7 8

2. หาระยะห่าง โดยใช้จำนวนบ้านทั้งหมด หารด้วยจำนวนบ้านที่ต้องการ = 14 / 5 = 2.8 ปัดเป็น 3 3. นำบ้านหมายเลข 1 ถึง 3 มาจับฉลาก เพื่อเลือกบ้านหลังแรก สมมติได้ เบอร์ 2 นั่น คือ บ้านหลังที่ 1 คือ บ้านเลขที่ 2 บ้านหลังที่ 2 คือ บ้านเลขที่ 5 (2+3 = 5) บ้านหลังที่ 3 คือ บ้านเลขที่ 8 (5+3 = 8) บ้านหลังที่ 4 คือ บ้านเลขที่ 11 (8+3 = 11) บ้านหลังที่ 5 คือ บ้านเลขที่ 14 (11+3 = 14)

บ้านที่ถูกเลือกเป็นตัวอย่าง โดยวิธีการสุ่มแบบ Systematic Random Method 12 13 14 6 9 4 5 10 11 1 2 3 7 8

การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Method)

การสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Method) มีตัวแบ่ง เช่น จังหวัด โรงเรียน N1 N2 N3 จับฉลาก N1 N3

หลักการสุ่มตัวอย่าง(ต่อ) แบบไม่สุ่ม (Nonrandom Methods) การสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Nonrandom Method) การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Nonrandom Method) การสุ่มแบบโควต้า (Quota Nonrandom Method) - การสุ่มแบบสมัครใจ (Volunteer nonrandom Method)

หลักการสุ่มตัวอย่าง(ต่อ) วิธีผสม (Mixed Sampling Method) เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบผสม ทั้งวิธีสุ่ม และวิธีไม่สุ่ม โดยคำนึงถึงข้อดี ของแต่ละวิธี เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นตัวแทนของประชากร มากที่สุด ในขณะที่ใช้ทรัพยากรคน งบประมาณ และเวลาน้อยที่สุด

จำนวนประชากรและจำนวนตัวอย่างตามวิธีของ R.V.Krejcie & D.W.Morgan

1. ปฐมภูมิ (Primary Data) 2. ทุติยภูมิ (Secondary Data) แหล่งข้อมูล 1. ปฐมภูมิ (Primary Data) 2. ทุติยภูมิ (Secondary Data)

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) 2. ข้อมูลเชิงปริมาณ ประเภทของข้อมูล และ ระดับของการวัด (Type of Data & Levels of Measurement) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) 2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) Nominal Ordinal Interval Ratio

Levels of Measurement Nominal เช่น เพศ เหล่า สังกัด อาชีพ Ordinal เช่น ระดับความคิดเห็น ระดับเกรด ชั้นยศ Scale เช่น คะแนน อุณหภูมิ ระยะทาง

การวิเคราะห์ข้อมูล Data Analysis

สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลางของข้อมูล 2. การวัดการกระจายของข้อมูล

Measures of Central Tendency ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบถ่วงน้ำหนัก ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม ค่ามัธยฐาน (Median) ค่าฐานนิยม (Mode)

Measures of Central Tendency การเลือกใช้ ความสัมพันธ์ระหว่าง Mean , median , Mode

Measures of Variability or Dispersion ค่าพิสัย (Range) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าความแปรปรวน (Variance) สัมประสิทธิ์ความแปรผัน (Coefficient of Variation)

การคำนวณหาค่าสถิติโดยใช้โปรแกรม SPSS

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เช่น เพศ ระดับชั้นยศ สังกัด เหล่า สถานภาพ คณะ สาขา อาชีพ สถิติที่ใช้นำเสนอภาคพรรณนา คือ ค่าร้อยละ กรณีใช้โปรแกรม SPSS ใช้คำสั่ง Frequencies Analyze >> Descriptive statistics >> Frequencies

ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เช่น คะแนนสอบ น้ำหนัก ปริมาณ อายุราชการ ระดับความคิดเห็น จำนวนปริมาณ ปริมาตร ฯลฯ สถิติที่ใช้นำเสนอ สามารถใช้สถิติได้ทุกตัว เช่น ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน กรณีใช้โปรแกรม SPSS ใช้คำสั่ง Descriptive หรือ ถ้านำเสนอค่าร้อยละ ใช้คำสั่ง Frequencies ก็ได้

คำสั่ง SPSS กับการวิเคราะห์ภาคพรรณนา Analyze >> Descriptive statistics >> Frequencies เลือก ตัวแปร >>> กดปุ่ม Statistics และเลือกตัวสถิติต่างๆ ที่ต้องการ หรือ Analyze >> Descriptive statistics >> Descriptives เลือก ตัวแปร >>> กดปุ่ม Options และเลือกตัวสถิติต่างๆ ที่ต้องการ

ตัวอย่างการใช้โปรแกรม SPSS for Windows เพื่อ คำนวณหาค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าสถิติ อื่นๆ

1. ไม่เกิน 8 ตัวอักษร 2. ห้ามมีตัวเลขนำ 3. ห้ามเว้นวรรค หลักการตั้งชื่อตัวแปร 1. ไม่เกิน 8 ตัวอักษร 2. ห้ามมีตัวเลขนำ 3. ห้ามเว้นวรรค

กรณีหาค่าร้อยละ Analyze -----> Descriptive Statistics -----> Frequencies

กรณีหาค่าเฉลี่ย Analyze -----> Descriptive Statistics -----> Descriptives...

Question????...