บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Array ใน C# Suphot Sawattiwong
Advertisements

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Data Type part.II.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
เฉลย Lab 10 Loop.
Structure.
ARRAY.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รับและแสดงผลข้อมูล.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
อาเรย์ (Array).
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
Advanced VB (VB ขั้นสูง)
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 4 Method (2).
อาร์เรย์ ชื่อ น. ส. พิชชากานต์ ไชยชาญยุทธ์ เลขที่ 22 ชั้นสทส.1/1.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
Chapter 7 Iteration Statement
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Data Structure and Algorithm
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
Lecture 4 เรคอร์ด.
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม Array in PHP เสรี ชิโนดม
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
Control Statements.
ตัวแปรชุด Arrays.
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
ข้อมูลแบบโครงสร้างและยูเนียน
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Array 1. Array คือ 2 ตัวแปรชุด ( Arrays ) คือ กลุมของขอมูลที่มีชนิด ของขอมูลเหมือนกัน จึงทําการจัดกลุมไวดวยกัน แลวอางถึงดวยกลุมของขอมูลนั้นดวยชื่อ.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม

ตัวแปรที่กำหนดขึ้นใช้เอง รูปแบบ [Private/Public] Type Varname elementName[([subscripts])] as type ….. End Type โดยที่ Varname คือชื่อของตัวแปรที่ต้องการสร้างขึ้น elementName คือชื่อของตัวแปรที่อยู่ภายใต้ตัวแปรที่สร้างขึ้น subscripts คือขนาดของ array ใช้ในกรณี elementName ที่กำหนดขึ้นเป็น Array type คือประเภทของข้อมูล

ตัวอย่าง Type EmployeeRecord ID as integer Name as String *20 Address as String * 30 Phone as Long HireDate as Date End Type Dim MyRecord as EmployeeRecord MyRecord.ID = 123

Dim Varname[([Subscripts])] [As Type][,Varname [([Subscripts])] ตัวแปรชนิด Array คือ เป็นโครงสร้างข้อมูลขั้นพื้นฐานที่เป็นการสร้างกลุ่มหรือชุดของตัวแปร โดยนำตัวแปรประเภทเดียวกันหลายๆ ตัวมาเรียงต่อกัน โดยสามารถอ้างถึงหรือเรียกใช้งานตัวแปรแต่ละตัวที่เป็นสมาชิกในกลุ่มได้ด้วยเลข Index การประกาศ Array จะมีรูปแบบดังนี้ Dim Varname[([Subscripts])] [As Type][,Varname [([Subscripts])] [As Type]]... โดยที่ Varname หมายถึง ชื่อของตัวแปร Array Subscripts หมายถึง ขนาดมิติ ซึ่งจะเขียนในรูปแบบ [Lower To]upper, [Lower to]upper… โดย Lower คือจำนวนแถวส่วน upper คือจำนวนสดมภ์ Type หมายถึงประเภทข้อมูล

Array แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. Static Array เป็น Array ที่มีขนาดของมิติตายตัว เปลี่ยนแปลงไม่ได้ 2. Dynamic Array เป็น Array ที่เปลี่ยนแปลงขนาดของมิติได้ ในการสร้าง Array จะใช้การ Declare เช่นเดียวกับตัวแปรทั่วไป แต่จะมีส่วนของวงเล็บที่ใช้บอกขนาดของมิติของ Array นั้นต่อท้าย เช่น Dim A(10) As String

ตัวอย่าง การประกาศตัวแปรแบบ Array Dim A(2) as integer Dim Z(1) Dim B(1 to 3) as String Dim C(3) as integer Dim D(1,2) as integer Dim E(1 to 5, 1 to 5) as integer Option Base 1 Dim y(4) as integer

Dim ArrayName( ) as VariableType Redim[Preserve]ArrayName(Subscripts) Dynamic Array : Array ประเภทนี้สามารถเปลี่ยนแปลงขนาดได้ ดังนั้นในการ Declare จึงไม่ต้องระบุขนาดในวงเล็บ รูปแบบ Dim ArrayName( ) as VariableType Redim[Preserve]ArrayName(Subscripts) โดยที่ Redim เป็นคำสั่งเมื่อต้องการระบุถึงขนาดภายหลังของ Dynamic Array ArrayName คือ ชื่องของ Array Subscripts คือ ขนาดมิติของ Array ดังได้กล่าวแล้วแต่ในกรณีที่มากกว่า 1 มิติให้คั่นด้วยเครื่องหมาย “,” Preserve ใช้ในกรณีที่ต้องการเก็บข้อมูลของ Array ไว้เมื่อมีการปรับขนาดของ array เพราะถ้าไม่มีคำสั่ง Preserve ค่าที่อยู่ในตัวแปร array ก่อนที่ถูกเปลี่ยนขนาดจะหายทั้งหมด

เช่น Dim x( ) as integer ….. Redim x(5) for I = 1 to 5 x(I) = I next I ตัวอย่าง จงเปลี่ยนขนาดของ x(5) ให้มีขนาดเป็น 7 ช่อง Dim x ( ) as integer Redim x(7) การเปลี่ยนขนาดมิติของ Array มีข้อจำกัดสิ่งหนึ่งคือ เปลี่ยนขนาดได้เฉพาะมิติสุดท้ายของ Array ได้เท่านั้น เช่น

ตัวอย่าง ต้องการกำหนดฐานของ Array ชื่อ y ขนาด 5 ช่อง เริ่มที่ 1 Option Base 1 Dim y(5) as integer ค่าใน Array y จะมีชื่อ y(1),y(2),y(3),y(4),y(5)

ตัวอย่าง Dim A(2) as integer Dim strB(3) as string Dim Z(4) A(0) = 6 strB(0) = “EAU” strB(1) = “Love” strB(2) = strB(0)+strB(1) strB(3) = strB(1) & strB(0) Z(0) = 78 Z(1) = 100 Z(2)= Z(0) + Z(1) Z(3)= Z(0) & Z(1) Z(4) =Z(1) – Z(0) Print A(1),A(2),strB(2) Print strB(3),Z(2),Z(3) Print Z(4)

ตัวอย่าง ถ้าข้อมูลใน Array x(5) เป็นดังนี้ 5,10,15,20,25 ฐานของ Array เริ่มที่ 1แล้วหลังจากประมวลผลคำสั่ง Redim Preserve x(10) ค่าของ x ทั้งหมดเป็นอย่างไร จะได้ Redim Preserve x(10) คือ x(o) = 0,x(1)=5,x(2)=10,x(3)=15,x(4)=20, x(5)=25,x(6)=0,x(7)=0,x(8)=0,x(9)=0,x(10)=0 ถ้าเป็น Redim x(10) จะได้ค่าทุกค่าใน x เป็น 0 หมด คือ x(0) = 0,x(1)=0,x(2)=0,x(3)=0,x(4)=0,x(5)=0,x(6)=0 X(7) =0,x(8)=0,x(9)=0,x(10) =0

การเปลี่ยนมิติของ Array มีข้อจำกัดคือ เปลี่ยนขนาดได้เฉพาะมิติสุดท้ายของ Array ได้เท่านั้น ตัวอย่าง Dim Temp( ) as integer Redim Temp(10,10,4) Redim Temp(10,10,6) Redim Temp(10,11,5)

จากโปรแกรมต่อไปนี้เมื่อประมวลผลจะได้ผลลัพธ์อย่างไร Private sub Command1_Click() Dim A(10) as integer,y as integer Dim I as integer, J as integer A(1) = 30 A(2) = 2 A(3) = 8 A(4) = 15 A(5) = 11 A(6) = 1 For I = 2 to 6 Y = A(i) A(0) = y j= i-1 Do While Y<A(j) A(J+1) = A(J) J= J-1 Loop A(J+1) = y Next I For I = 1 to 6 Print A(i) End Sub

Control Array คือ 0bject สามารถทำให้อยู่ในรูปของ Array ตัวอย่าง การสร้างเครื่องคิดเลข จะมีปุ่มตัวเลขตั้งแต่ 0-9 และเครื่องหมายสัญลักษณ์ โดยใช้ Command Button ตัวอย่าง การรับและแสดงค่าโดย Control Array ใช้ Text Box เมื่อกดปุ่ม Command Button จะลบข้อความใน Text Box ทั้งหมด for I = 0 to 4 Text1(i).text = “ “ Next

รูปแบบ With objectName [.cstatements] End With โดยที่ objectName คือชื่อของ Object Cstatements หมายถึง Method และ Property ของ Object ที่กำหนดใน ObjectName

ตัวอย่าง With Text1 Text1.Left = 0 .Left = 0 Text1.Top = 0 .Top = 0 .Width = 200 .Height = 200 End With Text1.Left = 0 Text1.Top = 0 Text1.Width = 200 Text1.Height = 200