โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรคของระบบไหลเวียนโลหิต
Advertisements

โรคที่สำคัญในสุกร.
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)
โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
รายงาน เรื่อง โรคเลือดออกตามไรฟัน จัดทำโดย ด.ช. ทรงยศ แจ่มวัย เลขที่ 16 ม.1/5 ด.ช. กัมปนาท สิหงศิวานนท์
โรคทูลารีเมีย (Tularemial)
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคเอสแอลอี.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ไข้เลือดออก ( Denque hemorrhagic fever )
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
Trypanosoma.
Haemoflagellate.
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
I. โรคผิวหนัง 1.1. เกิดจากปาราสิตภายนอก เช่น
II. Chronic Debilitating diseases
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
Myasthenia Gravis.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
โรคคอตีบ (Diphtheria)
การให้วัคซีนพิษสุนัขบ้าในเวชปฏิบัติ
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
ภาวะไตวาย.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
กินตามกรุ๊ปเลือด.
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
โรคกระเพาะอาหาร.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก แต่ความรุนแรงของโรคขึ้นกับพันธุ์สัตว์และเป็น ความไวต่อโรคของสัตว์แต่ละตัวด้วย และโดยทั่วไปพยาธิในเลือดจะมีความรุนแรงในสัตว์อายุมาก > สัตว์อายุน้อย โรคพยาธิในเลือด

ระบาดวิทยา เป็นโรคประจำถิ่นที่เกิดกับโคในประเทศไทย โดยเฉพาะในโคเลือด ยุโรป (Bos taurus) จะมีความต้านทานโรคน้อยกว่าโคเลือดอินเดีย (Bos indicus) และโคพื้นเมืองจะมีความต้านทานโรคมากที่สุด โคพื้นเมืองอาจจะป่วยด้วยโรคนี้ได้เมื่ออยู่ในภาวะ immunocompromise เช่น เครียดจากการขาดอาหาร การออกกำลังมากเกินไป โรคพยาธิในเลือด

การติดต่อ มีสัตว์ที่ดูดเลือดเป็นพาหะนำโรคแล้วแต่ชนิดของโรค เช่น เห็บจะเป็นตัวนำโรคไข้เห็บ (Babesiosis) เหลือบจะเป็นพาหะที่สำคัญของ Trypanosomiasis แมลงวันคอกเป็นพาหะได้หลายโรค อาการ ระยะฟักตัวของโรคคือ 2-3 อาทิตย์ สัตว์มีอาการไข้สูง (106-107F) ไม่กินอาหาร ซึม กระเพาะรูเม็นหยุดทำงาน ช่วงที่มีไข้เยื่อบุต่างๆ มีเลือดคั่ง แต่เมื่อเม็ดเลือดแดงแตกมากขึ้น เยื่อบุจะซีดและมีอาการอื่นร่วมด้วย โรคพยาธิในเลือด

โรคไข้เห็บโค (Babesiosis) โคอายุ ~ 4-5 ปี แสดงอาการไข้สูง ซึม หยุดเคี้ยวเอื้อง ปัสสาวะสีโคลา (ในถุงพลาสติก) และ B.bovis จะทำให้เกิดอาการทางประสาทร่วมด้วย เห็บที่เป็นพาหะของโรคในประเทศไทย(Boophilus microplus) ระยะดูดเลือดเต็มที่ ที่มาภาพ www.au.merial.com/producers/dairy/disease/boo.html เห็บระยะนำโรค

การวินิจฉัยโรค โดยการฟิล์มเลือดบางแล้วย้อมสียิมซ่า Babesia bigemina มีขนาดใหญ่ ความยาวเกินรัศมีของเม็ดเลือดแดงและทำมุมแหลม Classical form Babesia bovis มีขนาดเล็กกว่า ความยาวเกินรัศมีของเม็ดเลือดแดงและทำมุมป้าน โรคพยาธิในเลือด

การรักษา Babesiosis ใช้ยาฉีดเข้ากล้าม เช่น Diaminazene aceturate (BerenilR ) Imidocarb (ImizolR) Quinuronium sulfate (AcaprinR) โรคพยาธิในเลือด

โรคอนาพลาสโมซีส เกิดจากเชื้อริคเก็ทเซียที่ต้องมีแมลงดูดเลือดเป็นพาหะนำโรค อาการ ใกล้เคียงกับโรคไข้เห็บ แต่จะไม่พบอาการปัสสาวะสีโคล่า และในรายที่ป่วยจาก Anaplasmosis มักพบว่าสัตว์มีอาการดีซ่านร่วมด้วย อาการรุนแรงในโคที่มีสายเลือดยุโรปเช่นเดียวกับไข้เห็บ โดยทั่วไปแล้วมักทำให้เกิดโรคอย่างเรื้อรัง คือ แคระแกร็น ซีด การวินิจฉัย ทำฟิล์มเลือดบางจะพบลักษณะจุดที่ขอบเม็ดเลือดแดง การรักษา ให้ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เช่น Oxytetracycline หรือ ImizolR โรคพยาธิในเลือด

Trypanosomiosis พบการระบาดประปรายในทุกภาคของประเทศไทย ยกเว้นใน ภาคใต้มีการระบาดน้อยมาก มักเกิดการระบาดในสัตว์ในฟาร์มที่เลี้ยงใกล้กับฟาร์มเลี้ยงม้า โดยมีแมลงดูดเลือดเป็นพาหะนำโรค (โดยเฉพาะเหลือบ) เป็นพยาธิในเลือดชนิด flagellates ที่อยู่นอกเม็ดเลือด มีขนาดใหญ่กว่าพยาธิในเลือดชนิดอื่นๆ สัตว์ป่วยมีอาการไข้สูง โลหิตจาง แท้ง เดินขาแข็งๆ นัยน์ตาอักเสบ สามารถรักษาได้ด้วย SuraminR โรคพยาธิในเลือด

Theileriosis พบการระบาดมากในภาคใต้ของประเทศไทย แต่ไม่เป็นปัญหาให้เกิดโรคที่รุนแรง ยังไม่ทราบชนิดของพาหะที่แน่ชัด เข้าใจว่าแมลงดูดเลือดเป็นพาหะนำโรค เป็นพยาธิที่อยู่ในเม็ดเลือด มีรูปร่างแตกต่างกันได้หลายชนิด สัตว์ป่วยมีอาการไข้สูง โลหิตจาง ต่อมน้ำเหลืองบวม (superficial lymph nodes) สามารถรักษาได้ด้วย AcaprinR โรคพยาธิในเลือด

เชื้อโปรโตซัวในเลือด Anaplasma marginale เป็นจุดอยู่ที่ขอบของเม็ดเลือดแดง Trypanosoma evansi (flagellate) Theileria spp. (pleomorphic) เชื้อโปรโตซัวในเลือด

การควบคุมและป้องกันโรคพยาธิในเลือด 1. กำจัดพาหะนำโรค ให้ยาฆ่าแมลงบนตัวสัตว์และ บริเวณโรงเรือน ตลอดจน แหล่งเพาะพันธุ์ พักแปลงหญ้าก่อนปล่อย สัตว์ที่กำจัดพยาธิแล้วลงไป 2. ให้ยาต้านโปรโตซัวแก่สัตว์ใน ระดับป้องกันโรคเป็นโปรแกรมประจำ โรคพยาธิในเลือด