กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
~ ชาเขียว ~.
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ข้อมูลปัญหาที่นำมาใช้เพื่อการออกแบบสวน
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การปลูกพืชกลับหัว.
วิธีเพาะเมล็ดไผ่ (สามารถใช้กับไผ่ได้ทุกชนิด)
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การป้องกันกำจัดหอยทาก
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
เครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
การปลูกและดูแลปาล์มน้ำมันในภาคอีสาน
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp. ถิ่นกำเนิดทวีปอัฟริกา แถบประเทศเอธิโอเปีย

การใช้ประโยชน์ เริ่มจากคนเลี้ยงแพะ สังเกตุเห็นแพะกินใบและผลกาแฟแล้วมีอาการสดชื่น จึงรับประทานบ้าง ชาวอาหรับ เผยแพร่การบริโภคเมล็ดกาแฟ แถบประเทศใกล้ทะเลเมดีเตอร์เรเนียน

การปลูกในโลก ปลูกมากและเป็นผู้นำการผลิตกาแฟของโลกคือประเทศบราซิล ปลูกกันทั่วไปแถบอเมริกาใต้ อัฟริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การปลูกในประเทศไทย เริ่มปลูกครั้งแรก แถบทางเหนือในจังหวัดลำปาง ภาคตะวันออกในแถบจังหวัดจันทบุรี และภาคใต้แถบจังหวัดสงขลา ปัจจุบันมีแหล่งปลูกสำคัญ 2 แหล่ง คือ ภาคเหนือ คือ เชียงใหม่ เชียงราย แถบที่สูงจะเป็นพันธุ์อาราบิกา (เป็นแหล่งปลูกใหม่จากโครงการพระราชดำริ) ภาคใต้ คือ ชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช เป็นแหล่งปลูกที่สำคัญของประเทศไทย จะเป็นพันธุ์ โรบัสตา

ปัญหาการผลิต มีการผันผวนของราคาในแต่ละปีสูง ขึ้นกับปริมาณการผลิต ซึ่งจะแปรตามสภาพภูมิอากาศของโลก ฉะนั้นทำให้การผลิตของไทยไม่มีการผลิตมากนัก แหล่งผลิตที่สำคัญของประเทศไทย คือ ภาคใต้จะเป็นแหล่งผลิตกาแฟโรบัสตา ซึ่งคุณภาพต่ำราคาไม่ดี แหล่งผลิตกาแฟอาราบิกาซึ่งอยู่ทางภาคเหนือ กำลังการผลิตยังต่ำไม่เพียงพอสำหรับใช้ในประเทศ

พันธุ์กาแฟ - แยกได้ 3 พันธุ์หลัก 1.อาราบิกา (Arabica) - ต้นเล็ก,ใบเล็ก - แยกได้ 3 พันธุ์หลัก 1.อาราบิกา (Arabica) - ต้นเล็ก,ใบเล็ก - เมล็ดเล็ก, คุณภาพดี และมีผลผลิตสูง - เหมาะที่จะปลูกในที่สูง อุณหภูมิต่ำ - ไม่ต้านทานต่อโรคราสนิม (Rust)

2.โรบัสตา (Robusta) - ต้นใหญ่,ใบใหญ่ - เมล็ดโต, คุณภาพและผลผลิตปานกลาง - เหมาะที่จะปลูกในที่ราบ ใกล้ระดับน้ำทะเล - ต้องการความชุ่มชื้นสูง - ต้านทานต่อโรคราสนิม

3. ลิเบอริกา (Liberica) - ต้นใหญ่,ใบใหญ่เรียบ - เมล็ดโตมาก, คุณภาพต่ำและผลผลิตปานกลาง - ต้านทานต่อโรคราสนิม - ชอบความชุ่มชื้น

สภาพภูมิอากาศสำหรับกาแฟ อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 20 .c พันธุ์อาราบิกา 17 – 20 .c พันธุ์โรบัสตา 20 25 .c ฝน 1,000 – 1,250 มม./ปี ช่วงแล้งต้องเพียงพอสำหรับการกระตุ้นออกดอก แสง ต้องเพียงพอ ซึ่งส่วนมากแล้วมักอยู่ในเขต Tropical แต่อย่างไรก็ตาม ร่มเงาประมาณ 30-50 % ของแสงอาทิตย์ เป็นสิ่งจำเป็นในบางแถบ เช่น ประเทศเปอร์โตริโก

ดิน ขึ้นได้ดินเกือบทุกชนิด ระบายน้ำได้ดี เช่น พื้นที่ลาดเอียง pH ประมาณ 4.5-6.5

การขยายพันธุ์ นิยมการเพาะเมล็ดสุกเต็มที่และสมบูรณ์ อายุ 50-60 วันก็จะได้ต้นกล้างอกมีใบจริง ประมาณ 4 ใบ ทำการย้ายต้นกล้า ลงถุงพลาสติกหรือแปลงเพาะชำ โดยมีระยะปลูก 30 x 100 ซม. ควรมีร่มเงา ต้นกล้าอายุ 1 - 1 ½ ปี ก็สามารถย้ายลงปลูกในแปลงได้แล้ว

การปลูก ต้นกล้าอายุ 1- 1 ½ ปี (สูง 60-75 ซม. หรือมีใบจริงไม่น้อยกว่า 7 คู่) ก็นำลงปลูกในแปลง แปลงปลูกระยะแรกควรมีร่มเงาบ้างซึ่งส่วนมากจะใช้ปลูก ไม้ร่มเงา คือ - ร่มเงาชั่วคราว คือ กล้วย กระถิน ถั่วมะแฮะ ฯลฯ - ร่มเงาถาวร คือ ทองหลวง สะตอ มะพร้าว ฯลฯ ระยะปลูกโดยทั่วไป ใช้ 3 x 3 เมตร หรือ ประมาณ 200 ต้น / ไร่ (ระยะปลูกจะขึ้นกับวิธีการปลูกและการตัดแต่งทรงพุ่ม)

วิธีการตัดแต่ง ตัดยอด เมื่อต้นกาแฟสูงประมาณ 2 เมตร ให้ตัดยอกที่ระดับ 1.8 เมตร เลี้ยงกิ่งที่แตกเพียง 1 กิ่ง เพื่อการเจริญเติบโตต่อไป ตัดแต่งเพื่อเลี้ยงต้นใหม่ เลี้ยงกิ่ง 4 กิ่ง หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตครั้งที่ 1 ให้ตัดกิ่งที่ 1 หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตครั้งที่ 2 ให้ตัดกิ่งที่ 2 หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตครั้งที่ 3 ให้ตัดกิ่งที่ 3 หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตครั้งที่ 4 ให้ตัดกิ่งที่ 4 หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตครั้งที่ 5 ให้ตัดกิ่งที่ 1 ตัดแบบทั้งต้น ทำการปลูก ทำการปลูกแบบฮาวาย

การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวเฉพาะผลที่สุก การปอกผลกาแฟ ควรจะเริ่มทำภายใน 1 วัน หลังจากเก็บผลกาแฟจากต้น

การตาก การกระเทาะเปลือก ตากแดด 5-7 วัน เมล็ดกาแฟที่ตากได้ระดับพอดี เมล็ดในจะมีสีคล้ำและแข็ง กัดไม่แตก การกระเทาะเปลือก เอา silver skin ออก โดยการตำและฝัดร่อน พร้อมทั้งเป็นการแยกเมล็ดที่ดำและเมล็ดที่แตกออกจากเมล็ดดีด้วย

นำผลแห้งเข้าเครื่องสีหรือตำ การผลิตเมล็ดกาแฟแบบแห้ง - โดยปล่อยให้ผลกาแฟสุก แห้ง คาต้น - หรือถ้าไม่แห้งก็ต้องตากให้แห้ง นำผลแห้งเข้าเครื่องสีหรือตำ ฝัด + ร่อน เมล็ดกาแฟ

โรคและศัตรู 1. โรคราสนิม (Rust) เกิดจากเชื้อรา - รอยแผลจะเป็นสีเหลืองกึ่งส้ม ปรากฏอยู่ใต้ใบ ระบาดมากในฤดูฝน ป้องกันกำจัด - ใช้พันธุ์ต้านทาน - ฉีดยาป้องกันกำจัดเชื้อรา เมื่อมีการระบาด 2. แมลง - เพลี้ยหอย , เพลี้ยแป้ง ป้องกันกำจัด - ฉีดยากำจัด 3. หนู,กระรอก กินผลกาแฟที่สุก ป้องกันกำจัด - ทำความสะอาดสวน - ใช้เหยื่อพิษ