พลังงานภายในระบบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
สมดุลเคมี.
การเคลื่อนที่.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
พิจารณาแก๊ส 1 โมเลกุล ชนผนังภาชนะ 1 ด้าน ในแนวแกน x.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
เครื่องยนต์สเตอร์ลิง Stirling Engine
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
รูดอล์ฟ ดีเซล.
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
1 ความดันสถิต 2 กฎของปาสคาล 3 แรงพยุง 4 ความตึงผิว
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
แนวทางในการเลือกใช้เครื่องจักรบรรจุภัณฑ์ ในอตุสาหกรรมอาหาร
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ว ความหนืด (Viscosity)
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
(Internal energy of system)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4031 (พ. ศ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ซ่อมเสียง.
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ครูอำพรรณ ทรัพย์ประชา : ตากพิทยาคม
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พลังงานภายในระบบ

ตารางสรุปเครื่องหมาย ความหมาย ความดัน ตัวอย่างวิธีทำ สรุป พลังงานภายในระบบของก๊าซ link

พลังงานภายในระบบ (Internal Energy) หมายถึง ผลรวมของพลังงานจลน์ และพลังงานศักย์ของโมเลกุลของระบบ  ถ้าพลังงานภายในระบบเปลี่ยนไป  และเราวัดโดยตรงไม่ได้  เรามักจะคิดจากอุณหภูมิของความร้อน

ถ้าระบบมี  N โมเลกุล  และแต่ละโมเลกุลมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเป็นไปตามทฤษฎีจลน์ `Ek = (3/2)KBT    ดังนั้น พลังงานภายในระบบจึงเป็น U = (3/2) N KBT              หรือ       U = (3/2)nRT           จะเห็นว่าพลังงานภายในของระบบขึ้นกับจำนวนของโมเลกุลและอุณหภูมิ

กฎข้อที่ 1  เทอร์มอไดนามิกส์  (Thermodynamics)             ให้พิจารณากระบอกบรรจุก๊าซในรูป     F  เมื่อให้ความร้อน DQ แก่ระบบ   ระบบจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น  แสดงว่าพลังงานภายในของระบบมีค่าเพิ่มขึ้น DX  (คือ DU )และระบบจะขยายตัว (เกิด DW ) ซึ่งเป็นงานที่ระบบกระทำได้จากหลักอนุรักษ์พลังงาน  จะได้ DQ = DU + DW

งานที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนปริมาตร   สมมติว่ามีแก๊สเหลว หรือ gas ในกระบอกสูบที่มีลูกสูบ ให้กระบอกสูบมีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ A  แรงที่ระบบกระทำกับหน้าลูกสูบ เท่ากับ F                                                              ← DX →                                 F →  A

ความดัน P = F/A            F = PA             ถ้าลูกสูบเลื่อนออกมาเป็นระยะทาง  DX             จาก      W = FS          DW = FDX   à  PADX                       DW = PDV             DV  =   ปริมาตรที่เปลี่ยนแปลง

สรุป         1.   พลังงานภายในระบบ (U) คือ พลังงานรวมของโมเลกุลของแก๊สทุกตัวในขอบเขตที่กำลังพิจารณา  สำหรับแก๊สอุดมคติ (Ideal gas) พลังงานภายในเป็นพลังงานจลน์เพียงอย่างเดียว     2.  พลังงานภายในระบบขึ้นอยู่กับจำนวนของโมเลกุลและอุณหภูมิ     3.  กฎข้อที่ 1 ของ Thermodynamics มีสมการคือ  DQ = DW + DU     4.  Adiabatic process เป็นกระบวนการทาง Thermodynamics ที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่มีความร้อนไหลเข้า หรือไหลออกจากระบบ   เช่น กระบอกสูบในเครื่องยนต์     5.  Isochoric process  เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นโดยปริมาตรคงที่  ความดัน  และอุณหภูมิเปลี่ยน เนื่องจากมีความร้อนไหลเข้าไปในระบบ  เช่น  การต้มน้ำให้เดือดในภาชนะเปิด     6.  สรุปเครื่องหมาย ของ  DU  และ  DW

ปริมาณ เครื่องหมาย DQ ความร้อนไหลเข้าสู่ระบบ + ความร้อนไหลออกจากระบบ _ DU พลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น พลังงานภายในระบบที่ลดลง DW งานที่ทำโดยระบบ งานที่ให้กับระบบ

ตัวอย่าง

พลังงานภายในระบบของก๊าซ พลังงานภายในระบบของก๊าซ  หมายถึง ผลรวมของพลังงานของโมเลกุลของก๊าซทั้งหมดในภาชนะหนึ่ง ๆ ที่พิจารณา  ซึ่งจะมีค่ามากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและปริมาณของก๊าซ

เนื่องจาก โมเลกุลของก๊าซอุดมคติ มีการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสูง อยู่ตลอดเวลา  ดังนั้น   พลังงานของโมเลกุลของก๊าซ จึงอยู่ในรูปของพลังงานจลน์ เพียงอย่างเดียว พิจารณา พลังงานจลน์เฉลี่ยของก๊าซ  1  โมเลกุล จากสมการ Ek =  k B T ถ้าให้             N    =    จำนวนโมเลกุลของก๊าซทั้งหมด ในภาชนะที่พิจารณา                      U    =    พลังงานภายในระบบของก๊าซที่พิจารณา (ในภาชนะที่บรรจุ)  จะได้ว่า                                 U     =     N     …… (1)                                                 =    N (  k B T )      หรือ                                      U   =     N k B T              ……………………………………(2)

กลับไปที่ link เมื่อ k B = ค่าคงตัว แสดงว่า U a N T  หมายความว่า  “ พลังงานภายในระบบของก๊าซ ( U ) จะแปรผันตรงกับ จำนวนโมเลกุล ( N )  และ อุณหภูมิสัมบูรณ์ ( T ) ของก๊าซ ในภาชนะที่บรรจุนั้น   กลับไปที่ link