วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การศึกษารายกรณี.
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
4. Research tool and quality testing
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิเคราะห์ผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
แบบสังเกต (Observation form)
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
บทที่ 6 Selection กระบวนการพิจารณาคนจำนวนมากให้ เหลือจำนวนเท่าที่องค์การต้องการ Negative Process.
การวัดผล (Measurement)
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 7 การรวบรวมข้อมูลวิจัย
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
เป็นการสร้างช่องทางการ สื่อสารด้วยแผ่นภาพที่อาศัย รูปภาพใบหน้าในลักษณะ ต่างๆ พร้อมตัวหนังสือตัว โตๆที่มีสีสันสะดุดตา ทำให้ ผู้อ่านเข้าใจง่ายเมื่อพบเห็น.
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
ทักษะการอ่าน.
บทที่ 8 การวิจัยเชิงพรรณนา : การสำรวจ
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ประเภทของพฤติกรรม 1.เกณฑ์ “สังเกต” พฤติกรรมภายนอก (OVERT BEHAVIOR)
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล บทที่ 3 วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล

3.1 พฤติกรรมที่ต้องการวัด 3.1 พฤติกรรมที่ต้องการวัด ความรู้ความเข้าใจ (Knowledge: K) คุณลักษณะแฝงด้านอารมณ์ ความรู้สึก จิตใจ (Attitude: A) ทักษะ/กระบวนการ (Process: P)

3.2 คุณลักษณะของเครื่องมือวัดที่ดี 3.2 คุณลักษณะของเครื่องมือวัดที่ดี มีความตรง (Validity) มีความเที่ยง (Reliability) มีความเป็นปรนัย (Objectivity) มีความสะดวกในการใช้ (Practicallity)

ความตรง (Validity) เครื่องมือนั้นสามารถวัดได้ตรงตาม คุณลักษณะที่ต้องการวัด ถูกต้องตามเนื้อหา สอดคล้องตามสภาพที่เป็นจริง สอดคล้องตามทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการวัด

ความเที่ยง (Reliability) ความคงเส้นคงวาของผลที่ได้จากการวัด กล่าวคือ เครื่องมือนั้นสามารถให้ผลการวัดที่คงที่ แน่นอน ไม่แปลี่ยนแปลง หรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยไม่ว่าจะวัดกับคนกลุ่มเดิมซ้ำกี่ครั้ง ก็ได้ผลเหมือนเดิม

ความเป็นปรนัย (Objectivity) เครื่องมือมีข้อคำถามที่ชัดเจน อ่านแล้วเข้าใจความหมายได้ตรงกัน ตรวจให้คะแนนตรงกัน และแปลความหมายคะแนนได้ตรงกัน

สะดวกในการใช้ (Practicallity) เป็นเครื่องมือที่ใช้ง่าย ไม่ยุ่งยาก ให้ผลคุ้มค่า ไม่สิ้นเปลืองแรงงาน เวลา และค่าใช้จ่ายมากเกินไป

วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล การทดสอบ (Testing) การสังเกต (Observation) การสัมภาษณ์ (Interview) การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) การจัดอันดับคุณภาพ (Rating Scale) สังคมมิติ (Sociometry) กลวิธีระบายความในใจ (Projective techniques)