Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
Advertisements

ME-RMUTI Sarthit Toolthaisong
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
การวิเคราะห์ความเร็ว
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
Chapter 8 Continuous Beams
Chapter 10 Reinforced Beams
Chapter 7 Restrained Beams
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
Object-Oriented Analysis and Design
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การหาคุณลักษณะพิเศษ.
Soil Mechanics Laboratory
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Force Vectors (3) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Equilibrium of a Particle
Structural Analysis (2)
Equilibrium of a Rigid Body
การออกแบบ Cellular Beams
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การวิเคราะห์ Competency
Systems of Forces and Moments
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
Computer Graphics เรขาคณิต 2 มิติ 1.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
จงคำนวณหา y-coordinate ของจุด Centroid ของพื้นที่ดังรูป
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
Flowchart การเขียนผังงาน.
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
Chapter Objectives Chapter Outline
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management Faculty of Science and Technology Rajabaht Maha Sarakham University

แรงภายในโครงสร้าง การหาแรงภายในโครงสร้างใช้ วิธีภาคตัด (Method of Sections) ในการพิจารณาโครงสร้าง

ถ้าพิจารณา ตัดโครงสร้างที่จุด B ของคานจะได้ 3 แรงปฏิกิริยาที่ไม่ทราบค่า ได้แก่ แรงในแนวตั้งฉาก(Nc) แรงเฉือน (Vc) และโมเมนต์ดัด (Mc) ดังรูป

Type of Beam (ประเภทของคาน) คานจุดรองรับอย่างง่าย (Simply supported beam) A B L คานแขวน (Overhanging beam) A B L

คานยื่น (Cantilever beam) คานต่อเนื่อง (Continuous beam) A C B L1 L2

น้ำหนักที่กระทำต่อโครงสร้างคาน 1. Point Load (น้ำหนักกระทำเป็นจุด) P A B L

2. Uniform Load (น้ำหนักแบบแผ่กระจายรูปสี่เหลี่ยม) W A B L แปลงเป็น Point Load ก่อนนำไปคำนวณ จากสูตร P = WL P = WL A B L/2 L/2

3. Uniform Load (น้ำหนักแบบแผ่กระจายรูปสามเหลี่ยม) W A B L แปลงเป็น Point Load ก่อนนำไปคำนวณ จากสูตร P = ½ x Wx L P = ½ x W x L A B L/3 L

4. Uniform Load (น้ำหนักแบบแผ่กระจายรูปสี่เหลี่ยมคางหมู) W1 W2 B A L แปลงเป็น Point Load ได้ 2 แรง คือ แรงที่เกิดจากรูปสี่เหลี่ยมและแรงที่เกิดจากรูปสามเหลี่ยม

Shear and Moment Diagrams แผนภาพแรงเฉือน (Shear Force Diagram) เป็นกราฟที่แสดงค่าแรงเฉือนที่เกิดขึ้นทุกหน้าตัดตลอดความยาวของคาน แผนภาพโมเมนต์ดัด (Bending Moment Diagram) เป็นกราฟที่แสดงค่าโมเมนต์ที่เกิดขึ้นทุกหน้าตัดตลอดความยาวของคาน

ขั้นตอนในการวิเคราะห์ 1. เขียน FBD ของคาน และหาค่าแรงปฏิกิริยา

3. ตัดคานที่ระยะ x1 หรือ x2 และเขียน FBD ของชิ้นส่วนของคาน 2. เลือกระยะ x โดยให้ค่าพิกัดแต่ละอันอยู่ในช่วงที่อยู่ระหว่าง P, M, หรือ distributed loads w x1 x2 3. ตัดคานที่ระยะ x1 หรือ x2 และเขียน FBD ของชิ้นส่วนของคาน x2 x1

4. ใช้สมการความสมดุลหาสมการแรงเฉือน V(x) และ moment M(x) ของแต่ละช่วงที่พิจารณา Fy = 0 M = 0 ใช้จุดนี้ในการ Take moment หมายเหตุ : สมมติให้ทิศทางของ M และ V ที่จุดตัดเป็น + และยึดจุดตัดเป็นจุดหมุนในการใช้สมการสมดุลย์ของ moment

5. เขียน shear diagram และ moment diagram โดยที่ให้แกน x เป็นแกนนอนและ function ของ V(x) และ M(x) เป็นแกนตั้ง x1 x2

จงเขียนแผนภาพ shear diagram และ moment diagram ของคาน EXAMPLE 1 จงเขียนแผนภาพ shear diagram และ moment diagram ของคาน 6 kN 3 m 6 m 1. หาค่าแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ 9 kN m 6 kN 3 m 6 m 9 kN m Dx Ay Dy

เราควรแบ่งพิกัดของคานออกเป็นกี่ช่วง.....ง? 6 kN 6 m 3 m 9 kN m x1 x2 1 kN 5 kN

6 kN 3 m 6 m 9 kN m 1 kN 5 kN V M x1 5 kN 6 kN 3 m M V 5 kN x2

V (kN) V = 5 kN V = -1 kN M = 5x1 kN-m = 15 M = (18-x2) kN-m = 9 M (kN-m)

จงเขียนแผนภาพ shear diagram และ moment diagram ของคาน EXAMPLE 2 จงเขียนแผนภาพ shear diagram และ moment diagram ของคาน 15 10 5 1000 kN 100 kN/m.

1. หาค่าแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ 15 10 5 1000 kN 100 kN/m. Ax Cy Ay 1. หาค่าแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ

เราควรแบ่งพิกัดของคานออกเป็นกี่ช่วง......ง? 15 10 5 1000 kN 100 kN/m. x1 x2 x3

100 kN/m M x1 V 750 kN

5 m 100 kN/m M x2 V 750 kN

10 m 1000 kN 100 kN/m M 5 m x3 V 750 kN

V (kN) 5 m 10 m M (kN-m) 5 m 10 m

Graphic Method…? เป็นการเขียน SFD และ BMD โดยอาศัยความสัมพันธ์แรงกระจาย, Shear force และ Bending Moment (โดยไม่ต้องตัดคานเพื่อหาแรงภายใน) ขั้นตอนวิธี Graphic Method. หาแรงปฏิกิริยา ใช้หลักความสัมพันธ์ระหว่าง Shear force และ Bending Moment ดังนี้ ความชันของ SFD = แรงกระจายติดลบ ความชันของ BMD = แรงเฉือน การเปลี่ยนแปลงแรงเฉือน = พื้นที่ใต้กราฟแรงกระจายติดลบ การเปลี่ยนแปลงโมเมนต์ = พื้นที่ใต้กราฟแรงเฉือน

80 N 20 N ? ? 2 m 2 x 80 = 1.6 m. (80 +20) 2 x 20 = 0.4 m. (80 +20)

Ex.1 Graphic Method 3 m 6 m 6 kN 9 kN m 5 kN 1 kN SFD BMD

Ex.2 Graphic Method 1000 kN 100 kN/m. 5 10 15 750 kN 750 kN SFD BMD

Quiz # 9