ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Arrays.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
การรับค่าและแสดงผล.
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Principles of Programming
Principles of Programming
Data Type part.III.
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
Structure Programming
Array.
Structure.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
ตัวแปรชุด Arrays.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว ในภาษาซี ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลเป็นกลุ่มจะต้องใช้ตัวแปรประเภท อาร์เรย์ (Array) อาร์เรย์ (Array) : ประกอบด้วยข้อมูลหลายๆตัวรวมกันเป็นกลุ่ม ข้อมูลแต่ละตัวจะเรียกว่า Element หรือ Cell และในการอ้างถึงข้อมูลแต่ละ Cell จะใช้ index เป็นตัวชี้ อาร์เรย์ X Index X[0] X[1] X[2] X[3] X[4] ข้อมูล 18 20 30 11 15

การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ รูปแบบของการประกาศอาร์เรย์ คือ หากโปรแกรมมีการประกาศตัวแปรอาร์เรย์เอาไว้ เราสามารถนำตัวแปรนี้มาใช้ได้เหมือนกับตัวแปรทั่วไป เช่น type var_name[size] # include “stdio.h” main( ){ int x[5]; x[2] = 40; printf(“Array x[2] is %d “,x[2]); } # include “stdio.h” main( ){ char hotdog[20]; float somtum[50]; hotdog[19] = ‘A’; somtum[0] = 25.5; somtum[1] = 10.5; somtum[3] = somtum[0]+somtum[1]; printf(“hotdog = %c \n“,hotdog[19]); printf(“somtum = %f \n”,somtum[3]); }

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ โปรแกรมพิเศษ โปรแกรมที่ 7.1 #include “stdio.h” main( ){ int i , lipton[6]; for (i =0 ; i <= 5 ; i++) { lipton[i] = i ; } printf(“%d\n”,lipton[i]); #include “stdio.h” int x; int A[20]; main( ){ for(x=1;x<=10;x++){ printf(“Input number %d = “,x); scanf(“%d”,&A[x]); } for(x=1;x<=10;x++) printf(“%d\n”,A[x]);

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์ การการประกาศตัวแปรอาร์เรย์เราสามารถที่จะกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์ได้ โดยใช้รูปแบบดังต่อไปนี้ เช่น ถ้าต้องการกำหนดค่าตัวเลขจำนวนเต็มให้กับตัวแปรอาร์เรย์สามารถทำได้ดังนี้ int hotdog[5] = {1,4,9,16,25}; หรือ char somtum[3] = {‘A’,’B’,’C’}; ถ้าเรากำหนดให้อาร์เรย์เก็บข้อมูล String สามารถทำได้เช่น char ss[5] = “ABCD”; จะเห็นว่า ss ถูกประกาศให้เก็บข้อมูล 5 ตำแหน่งแต่จริงๆแล้วเราสามารถเก็บข้อมูลที่เป็น String ได้เพียงแค่ 4 ตำแหน่งเท่านั้น โดยที่ตำแหน่งสุดท้ายของอาร์เรย์จะต้องเก็บค่า \0 เราอาจไม่ระบุขนาดของอาร์เรย์ก็ได้ในการประกาศ แต่สามารถกระทำได้พร้อมกับการกำหนดค่าเริ่มต้นเท่านั้น เช่น int hotdog[ ] = {1,4,9,16,25}; หรือ char ss[ ] = “Computer”; type var_name[size] = {value-list}

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ โปรแกรมที่ 7.2 โปรแกรมที่ 7.5 # include “stdio.h” main( ){ int sample[10] , i; float avg; for(i = 0;i<10;i++){ printf(“Enter Number %d : “,i); scanf(“%d”,&sample[i]); } avg = 0; avg = avg + sample[i]; printf(“The average is %d \n”,avg/10); # include “stdio.h” main( ){ int a1[10] , a2[10] , i; for (i=0;i<10;i++){ a1[i] = i; } a2[i] = a1[i]; printf(“%d “,a2[i]);

type array-name[row][column] อาร์เรย์หลายมิติ ในการเขียนโปรแกรมภาษาซีสามารถสร้างตัวแปรอาร์เรย์แบบหลายมิติได้ เช่น อาร์เรย์แบบ 2 มิติ อาร์เรย์แบบ 3 มิติ เป็นต้น อาร์เรย์ 2 มิติ การประกาศอาร์เรย์ 2 มิติจะใช้ดัชนี 2 ตัว เพื่อระบุจำนวนสมาชิกในแต่ละหลักและแถว เช่น int AB[2][3]; หมายความว่าตัวแปร AB จะมีสมาชิกทั้งหมด 6 ตัว (2 x 3) type array-name[row][column] หลักที่ 0 หลักที่ 1 หลักที่ 2 AB[0][0] จะมีค่าเท่ากับ 4 แถวที่ 0 4 3 7 1 2 9 AB[1][2] จะมีค่าเท่ากับ 9 แถวที่ 1 AB[0][1] จะมีค่าเท่ากับ 3

หรือจะไม่กำหนดขนาดให้กับอาร์เรย์ก็ได้ อาร์เรย์ 2 มิติ เราสามารถกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์แบบ 2 มิติได้ดังนี้ sqr[0][1] จะเก็บค่า 2 sqr[0][2] จะเก็บค่า 3 int sqr[3][3] = { 1 , 2 , 3 4 , 5 , 6 7 , 8 , 9 }; int sqr[ ][3] = { 1 , 2 , 3 4 , 5 , 6 7 , 8 , 9 }; หรือจะไม่กำหนดขนาดให้กับอาร์เรย์ก็ได้ int sqr[3][3] = { {1,2,3},{4,5,6},{7,8,9} };

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 2 มิติ โปรแกรมที่ 7.16 โปรแกรมที่ 7.19 # include “stdio.h” main( ){ int twod[4][5]; int i , j ; for(i = 0 ; i<4 ; i++){ for(j = 0 ; j<5 ; j++){ twod[i][j] = i * j ; } printf(“%d “,twod[i][j]) ; printf(“\n”); #include “stdio.h” char text[ ][80] = { “When”,”in”,”the”,course”, “Of”,”human”,”events”,”” }; main( ) { int i , j ; for(i = 0 ; i<1; i++){ for(j = 0 ; j<80 ; j++){ printf(“%c “,text[i][j]) ; } printf(“ ”);

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 2 มิติ โปรแกรมที่ 7.15 โปรแกรมที่ 7.15 (ต่อ) # include “stdio.h” void printArray(int [ ][3]); main( ){ int array1[2][3] = { {1,2,3},{4,5,6} }; int array2[2][3] = {1,2,3,4,5}; int array3[2][3] = { {1,2} , {4} }; printf(“Values in array1 by row are:\n”); printArray(array1); printf(“Values in array2 by row are:\n”); printArray(array2); printf(“Values in array3 by row are:\n”); printArray(array3); } void printArray(int a[ ][3]){ int i , j ; for(i = 0 ; i<1 ; i++){ for(j = 0 ; j<2 ; j++){ printf(“%d “,a[i][j]); } printf(“\n”); ผลลัพธ์ Values in array1 by row are: 1 2 3 4 5 6 Values in array2 by row are: 4 5 0 Values in array3 by row are: 1 2 0 4 0 0

type array-name[dimention][row][column] อาร์เรย์ 3 มิติ อาร์เรย์ 3 มิติ การประกาศอาร์เรย์ 3 มิติจะใช้ดัชนี 3 ตัว เพื่อระบุจำนวนสมาชิก เช่น int AB[2][3][2]; หมายความว่าตัวแปร AB จะมีสมาชิกทั้งหมด 12 ตัว (2 x 3 x 2) type array-name[dimention][row][column] ชั้นที่ 1 หลักที่ 0 หลักที่ 1 หลักที่ 2 AB[0][0][0] จะมีค่าเท่ากับ 4 ชั้นที่ 0 AB[1][2][2] จะมีค่าเท่ากับ 3 หลักที่ 0 หลักที่ 1 หลักที่ 2 AB[0][1][1] จะมีค่าเท่ากับ 2 แถวที่ 0 4 3 7 1 2 9 แถวที่ 1

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 3 มิติ โปรแกรมพิเศษ โปรแกรมพิเศษ (ต่อ) # include “stdio.h” main( ){ int twod[4][5][3]; int i , j , k ; for(i = 0 ; i<4 ; i++){ for(j = 0 ; j<5 ; j++){ for(k = 0 ; k<3 ; k++){ twod[i][j][k] = i * j ; } for(i = 0 ; i<4 ; i++){ for(j = 0 ; j<5 ; j++){ for(k = 0 ; k<3 ; k++){ printf(“%d ”,twod[i][j][k]); } printf(“\n”); printf(“\n\n”);