CHAPTER 4 Circuit Theorems

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรลบแรงดัน (1).
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
“ โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น ” เรื่อง รู้จักโปรแกรม OrCAD Capture PSPICE กับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าสำหรับ อาจารย์ในระดับอาชีวศึกษา 14 ตุลาคม 2554 เวลา.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
กระแสไฟฟ้า Electric Current
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
Introduction to Digital System
การแปลงภาพสีเทาให้เป็นภาพขาวดำ
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
Sinusoidal Steady-State Analysis
การแปรผันตรง (Direct variation)
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
305221, Computer Electrical Circuit Analysis การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าทาง คอมพิวเตอร์ 3(2-3-6) ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คมกริช มาเที่ยง สัปดาห์ที่ 12 AC.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CHAPTER 4 Circuit Theorems A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

วัตถุประสงค์และเนื้อหา ศึกษาการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎี: ซุปเปอร์โพสิชั่น การเปลี่ยนรูปแหล่งจ่าย การส่งผ่านกำลังสูงสุด เทวินิน นอร์ตัน A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Super position theorem แรงดันตกคร่อม (หรือกระแสไหลผ่าน) อุปกรณ์ในวงจรเชิงเส้นใดๆคือผลรวมทาง พีชคณิตของแรงดันตกคร่อม (หรือกระแสไหลผ่าน) อุปกรณ์ตัวนั้นซึ่งเกิดจาก แหล่งจ่ายอิสระแต่ละตัว ขั้นตอนการประยุกต์ใช้หลักการของซุปเปอร์โพสิชั่น 1. หาแรงดันหรือกระแสจากแหล่งจ่ายอิสระทีละตัว (อาจใช้การวิเคราะห์แบบโนดหรือเมช) โดยทำการปิดแหล่งจ่ายอิสระตัวอื่น 2. ทำซ้ำในขั้นตอนที่หนึ่ง จนกระทั่งครบทุกแหล่งจ่ายที่มีอยู่ในวงจร 3. หาผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันหรือกระแสที่ได้จากแหล่งจ่ายอิสระแต่ละตัว A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Super position theorem หาแรงดัน v หาจากแหล่งจ่ายทีละตัว กำหนด v1 จากแหล่งจ่าย 6V และ v2 จากแหล่งจ่าย 3A ดังนั้นจะได้ผลลัพธ์ A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Super position theorem หา v1 จากแหล่งจ่าย 6V A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Super position theorem A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Source Transformation Independent source Dependent source A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Source Transformation ใช้หลักการเปลี่ยนรูปแหล่งจ่ายหา vo A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Source Transformation A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Thevenin theorem โครงข่ายงานเชิงเส้นใดๆ สามารถแทนได้ด้วยแหล่งจ่ายแรงดันเทวินิน ต่อกับความต้านทานเทวินิน + - a b โครงข่ายงานเชิงเส้น โครงข่ายงาน วงจรสมมูลย์เทวินิน A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Thevenin theory ขั้นตอนของการวิเคราะห์วงจรด้วยทฤษฎีเทวินิน a b vth 1. ปลดโหลด คำนวณหาแหล่งจ่ายเทวินิน และความต้านทานเทวินิน Rth 2. เขียนวงจรสมมูลย์เทวินิน คำนวณหากระแสและแรงดันที่โหลด A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Thevenin theorem วิธีคำนวณหา Rth ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน a a b b Rth วิธีคำนวณหา ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน เปิดวงจรแหล่งจ่ายกระแส A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Thevenin theorem vth วิธีคำนวณหา a b A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Thevenin theorem a Use voltage divider b A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Norton theorem โครงข่ายงานเชิงเส้นใดๆ สามารถแทนได้ด้วยแหล่งจ่ายกระแสนอร์ตัน ต่อกับความต้านทานนอร์ตัน a b วงจรสมมูลย์นอร์ตัน โครงข่ายงาน โครงข่ายงานเชิงเส้น A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Norton theorem ขั้นตอนของการวิเคราะห์วงจรด้วยทฤษฎีนอร์ตัน a b ith 1. ปลดโหลด คำนวณหาแหล่งจ่ายกระแสนอร์ตัน และความต้านทานนอร์ตัน Rth 2. เขียนวงจรสมมูลย์นอร์ตัน คำนวณหากระแสและแรงดันที่โหลด A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Norton theorem วิธีคำนวณหา Rth ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน a a b b Rth วิธีคำนวณหา ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน เปิดวงจรแหล่งจ่ายกระแส A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Norton theorem คำนวณหา ith a b พิจารณาจากวงจรควรใช้สมการเมชคำนวณหากระแสนอร์ตัน A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Norton theorem a Use current divider b A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Maximum Power Transfer 1 กำลังสูงสุดที่เกิดขึ้นหาได้จากการ differentiate สมการที่ 1 เทียบกับ RL แล้วกำหนดให้ผลลัพธ์เท่ากับศูนย์ A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Maximum Power Transfer คูณสมการที่ 1 ด้วย แล้วทำการ differentiate 2 คูณสมการที่ 2 ด้วย 3 A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

Maximum Power Transfer b a b วิธีคำนวณหา RL ซ็อตแหล่งจ่ายแรงดัน เปิดวงจรแหล่งจ่ายกระแส A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)

A. Aurasopon Electric Circuits (0307 201)