การฝึกอบรมการใช้เครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
เครื่องเร่งอนุภาค แสงซินโครตรอนและการนำไปใช้
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
การเทียบความทึบแสง (Spectrophotometry)
Photochemistry.
Dynamic Properties: Static Properties: สมบัติของสถานะเร้า
Electronic Transition
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง สภาวะพลังงานเมื่อโมเลกุล
Ground State & Excited State
Law of Photochemistry.
Rayleigh Scattering.
SERMASCH LTD. Course code : MN:CK002
Low Power Laser For PT รศ.สมชาย รัตนทองคำ.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2552
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Measurement of Gases KM 57.
Luminescence Spectroscopy
for Optical Spectroscopy
Atomic Emission Spectroscopy (AE, AES)
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Atomic Spectroscopy.
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
การสะท้อนและการหักเหของแสง
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ด รัทเทอร์ ฟอร์ด พบว่ ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบน และส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํามุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
Ultrasonic sensor.
( wavelength division mux)
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
บทที่ 10 การวิเคราะห์ธาตุส่วนผสมทางเคมี Chemical composition analysis
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
การฝึกอบรมการใช้เครื่อง อะตอมมิกแอบซอพชั่นชนิดกราไฟต์
สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
1 Spectroscopy Introduction Lecturer: Somsak Sirichai Chemistry department, Burapha University.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
Principles of Communications Chapter 5 Communication Media
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การกลายพันธุ์ Mutation Breeding.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
ซ่อมเสียง.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
Molecular Ultraviolet/Visible Absorption Spectroscopy
แสง เสียง และรังสี ในชีวิตประจำวัน
การตรวจพิสูจน์อัญมณี gemstone identification
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การฝึกอบรมการใช้เครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer

เนื้อหาการอบรม หลักการและทฤษฎีของอะตอมมิกแอบซอพชั่นและการใช้เครื่อง วิธีการตรวจวิเคราะห์ ปฏิบัติการใช้เครื่องอะตอมมิกแอบซอพชั่นและ การบำรุงรักษา

หลักการและทฤษฎีของอะตอมมิกแอบซอพชั่น

สเปกโตรโฟโตเมตรี(Spectrophotometry) สเปกโตรสโกปี(Spectroscopy) คือวิชาที่ศึกษาถึงการกระทำร่วม (interaction) ระหว่าง คลื่นแสงกับสสาร สเปกโตรโฟโตมิเตอร์(Spectrophotometer) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาการกระทำร่วมระหว่างคลื่นแสง กับสสาร สเปกตรัม(Spectrum) กราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานที่ถูกดูดกลืนกับ ความยาวคลื่น

ความยาวคลื่นแสง (wavelength) :  คือความยาวแสงหนึ่งช่วงคลื่น มีหน่วยวัดเป็น  , Å , etc ความถี่ (frequency) : υ คือจำนวนคลื่นที่ผ่านจุดๆหนึ่งในต่อหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น cycle per sec (cps) หรือ Hz 1 cps = 1 sec-1 = 1 Hz

υ = จำนวนคลื่นต่อเซนติเมตรมีหน่วยเป็น cm-1 การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสง แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ อนุภาค (particle) ที่เรียกกันว่า photon จาก Quantum theory พลังงานของ photon จะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับความถี่ของการแผ่รังสีนั้น E = hυ E = h C/ υ = 1/ E = พลังงานของ photon มีหน่วยเป็นจูล (J) h = Plank’s constant = 6.62 x 10-34 J sec υ = ความถี่ในหน่วย Hertz (Hz = cps , sec-1)  = ความยาวคลื่นแสง υ = จำนวนคลื่นต่อเซนติเมตรมีหน่วยเป็น cm-1

ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่และความยาวคลื่น υ = c/η C = ความเร็วของแสงในสูญญากาศ = 3.0 x 108 m/s η = ดัชนีหักเหของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่าน กรณีที่แสงผ่านอากาศ υ = c 1 Å = 10-10 m 1 µm = 10-6 m 1 nm = 10-9 m

Electromagnetic Spectrum คือช่วงความยาวคลื่นของแสง ตั้งแต่ gramma ray ซึ่งมีพลังงานสูงสุด (  ต่ำสุด) ถึงคลื่นวิทยุ (radiowave) ซึ่งมีพลังงานต่ำสุด (  สูงสุด) Nuclear transition Inner electron transition Outer electron transition Molecular vibration Molecular rotation Nuclear Magnetic Resonance

Electromagnetic Spectrum Visible

สเปกตรัมของแสงที่ตามองเห็น (Visible spectrum) Wavelength, nm Color Complementary Color (absorbed) (color observed) < 380 380 - 435 435 - 480 480 - 490 490 - 500 500 - 560 560 - 580 580 - 595 595 - 650 650 - 780 >780 Ultraviolet Violet Blue Green-blue Blue-green Green Yellow-green Yellow Orange Red NIR Yellow-green Yellow Orange Red Purple Violet Blue Green-blue Blue green

Molecular Response to Radiation

Electronstate

Electronic transition

Nature of atom e- + Mo Ground state M0 = Ground State Electron

Excitation Absorption Light e- + +E Mo M* M* = Excited Electron

Emission +E + e- Light +E - E Mo M* Mo Back to ground state

Origins of Atomic Spectra Light e- + e- Excited State E = hn = hc/l

Atomic Spectroscopy Absorption Mo + light M* Emission Mo + heat M* Mo + light

absorption emission Interaction between light and atom fluorescence Excited state photon heat photon photon photon Ground State absorption emission fluorescence

ภาพแสดง spectrum ของการดูดกลืนช่วงแสง ของ atom หรือ molecule UV/VIS spectrum Absorbance max = Absorption maximum  ภาพแสดง spectrum ของการดูดกลืนช่วงแสง ของ atom หรือ molecule

UV/VIS spectrum

การกระทำร่วม (Interaction) ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับสสาร Transmitted radiation (Pt) Fluorescence (F) Scattering (Ps) Reflected radiation, (Pr) Incident radiation, P0 absorbed

กฏที่เกี่ยวกับการดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า Lambert’s law ความเข้มแสงที่ถูกดูดกลืนเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทางที่แสงผ่าน P0 b1 P P0 P b1 P0 b2 P Log P0/P ⍺ b

กฏที่เกี่ยวกับการดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า Beer’s law ความเข้มแสงที่ถูกดูดกลืนเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของสาร P0 P P0 P P0 P Log P0/P ⍺ C

Lambert & Beer’s law Log P0/P = A = - log T = abc A A = Absorbance T = Transmission a = absorptivity b = ระยะทางที่แสงผ่านสาร c = ความเข้มข้นสาร C

การคำนวณเปลี่ยน %T เป็น A Absorbance %T A %T 1 10 0.69 20 0.52 30 0.39 40 0.301 50 0.221 60 0.154 70 0.096 80 0.045 90 100 A = - log T A = 2 - log%T เช่นถ้าแสงผ่านออกมา 70% A = -log 70/100 A = 0.1549

การเบี่ยงเบนไปจากกฏของ Beer’s (Deviation)

อะตอมมิกแอบซอพชั่นสเปกโตรสโกปี Atomic Absorption Spectroscopy เป็นการศึกษากระบวนการซึ่งเกิดจากการดูดกลืนแสงของอะตอมอิสระที่ความยาวคลื่นใดความยาวคลื่นหนึ่ง

อะตอมมิกแอบซอพชั่นสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ Atomic Absorption Spectrophotometer คือ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษากระบวนการ การดูดกลืนแสงของอะตอมอิสระที่ความยาวคลื่นใดความยาวคลื่นหนึ่ง

อะตอมมิกแอบซอพชั่นสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ Atomic Absorption Spectrophotometer Light Source Atomizer Mono Chromator Detector

แหล่งกำเนิดแสง Light Source คือ อุปกรณ์ที่ให้แสงในความยาวคลื่นจำเพาะสำหรับธาตุที่ทำการวิเคราะห์ โดยแหล่งกำเนิดแสงของเครื่องอะตอมมิกแอบซอพชั่นสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ เรียกว่า Hollow Cathode Lamp

แหล่งกำเนิดแสง Light Source

ส่วนที่กระตุ้นให้ธาตุกลายเป็นอะตอมอิสระ Atomizer คือ ส่วนที่ทำให้ธาตุเกิดการแตกตัวกลายเป็นอะตอมอิสระ โดยการใช้ความร้อนเป็นตัวกระตุ้น ซึ่งแบ่งตามกระบวนการให้ความร้อนออกได้เป็น 2 กระบวนการ คือ

ส่วนที่กระตุ้นให้ธาตุกลายเป็นอะตอมอิสระ Atomizer กระบวนการทำให้ธาตุแตกตัวเป็นอะตอมอิสระโดยใช้เปลวไฟ (Flame Atomization) กระบวนการทำให้ธาตุแตกตัวเป็นอะตอมอิสระโดยใช้ความร้อนจากไฟฟ้า (Flameless Atomization)

ส่วนที่กระตุ้นให้ธาตุกลายเป็นอะตอมอิสระ Flame Atomizer

Flame Atomization Burner Spray Chamber Nebulizer Sample Atomization and Absorption Burner Evaporation : Solid to gaseous Evaporation : Soluton to Solid Spray Chamber Mixed with Fuel Nebulizer Mixed with Oxidant Sample

Flame Atomization Flame type Oxidant Fuel Temp. (oC) Air-C2H2 Air Acetylene 2100 - 2300 N2O-C2H2 Nitrous Oxide Acetylene 2600 - 3000

ส่วนที่กระตุ้นให้ธาตุกลายเป็นอะตอมอิสระ Atomizer กระบวนการทำให้ธาตุแตกตัวเป็นอะตอมอิสระด้วยความร้อนจากไฟฟ้า (Flameless/Graphite Furnace Atomization)

ส่วนทำหน้าที่คัดแยกแสง Monochromator คือ ส่วนที่ทำหน้าที่คัดแยกแสงจากแหล่งกำเนิดแสงให้กลายเป็นลำแสงที่ความยาวคลื่นเดียว

ส่วนทำหน้าที่คัดแยกแสง Monochromator Grating Entrance Slit Exit Slit Detector

ส่วนตรวจวัดแสง Detector คือ ส่วนที่รับและแปลงสัญญาณจากแสงเป็น สัญญาณไฟฟ้า

Photomultiplier Tube Photocathode Light e- Dynode Current Convert light energy to electrical energy

Atomic absorption spectrophotometer

Software Control

Standard Calibration Curve

Results