Introduction to Digital System

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
อสมการ.
ระบบตัวเลขฐานสิบสอง สัญลักษณ์หรือเลขโดดที่ใช้ในระบบตัวเลขฐานสิบสอง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) คอมพลีเมนต์ (Complement)
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
NUMBER SYSTEM Decimal number system (10) Noval number system (9)
Use Case Diagram.
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
C Programming Lecture no. 6: Function.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Computer Architecture and Assembly Language
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
Human and Computer Interaction
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 3 การคำนวณทางคณิตศาสตร์ หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (ALU)
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
School of Information Communication Technology,
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระบบเลขฐาน.
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
การกระทำทางคณิตศาสตร์
การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย Check Digit
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming)
Digital image Processing By Asst. Prof. Juthawut Chantharamalee
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to Digital System By Juthawut Chantharamalee Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

บทที่ 3 การคำนวณทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Calculations) บทที่ 2 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

บทนำ ในระบบคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะรันโปรแกรมใดๆโดยส่วนใหญ่หลักพื้นฐานจะต้องมีการ คำนวณทางคณิตศาตร์เข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นพื้นฐานทางคณิตศาตร์ในระบบดิจิตอลมี ความจำเป็นมาก ไม่ว่าจะเป็นการ บวก ลบ คูณ หาร เลขฐานที่เกี่ยวข้องที่จำเป็นได้แก่ เลขไบนารี่ หรือเลขฐานสอง และเลขฐานสิบหก เป็นต้นก่อนอื่น ต้องเข้าใจหลักเกณฑ์ใน การบวก ลบ คูณ หารเลขไบนารี่เสียก่อน ดังนี้ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก หลักการบวก 1. ให้บวกตามปกติเหมือนเลขฐานสิบ 2. ถ้าผลบวกที่ได้มีค่าไม่เกินค่าเลขฐานนั้นๆ ให้ใส่ผลลัพธ์ได้เลย 3. ถ้าผลบวกที่ได้มีค่าเกินค่าเลขฐานนั้นๆ ให้เปลี่ยนผลลัพธ์ที่ได้เป็นเลขฐานนั้นๆ แล้วใส่ LSB หรือ LSD เป็นผลลัพธ์ ส่วนที่เหลือจะเป็นตัวทด 4. กรณีที่มีตัวทดให้เปลี่ยนตัวทดเป็นเลขฐานสิบแล้วจึงเริ่มทำข้อ 1 และทำไปเรื่อยๆ จน หมดทุกหลัก Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.2 การลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.2 การลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก หลักการลบ 1. กรณีหลักตัวตั้งเท่ากันหรือมากกว่าตัวลบให้ลบตามปกติเหมือนเลขฐานสิบ 2. กรณีที่ลบไม่ได้ต้องยืมจากหลังถัดไปมาเท่ากับเลขฐานนั้นๆ แล้วบวกกับตัวตั้งในหลักที่ จะลบ เช่นเลขฐานสองก็ต้องยืมมา 2 เลขฐานแปดยืมมา 8 และเลขฐานสิบหกก็ยืมมา 16 3. ผลลัพธ์ที่ได้ต้องเป็นจำนวนเลขที่ไม่เกินเลขฐานนั้นๆ 4. หลักที่ถูกยืมมาจะต้องลดลง 1 เสมอ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.2 การลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.2 การลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.2 การลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.2 การลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ 3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ เลขจำนวนลบหรือเลขที่เป็นลบ ของเลขฐานต่างๆ โดยเฉพาะเลขฐานสองที่จะใช้ ประมวลผลในเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้อง มีวิธีแสดงค่าที่ถูกต้องซึ่งก็มีการคิดค้นระบบ ที่จะใช้หลายวิธี แต่ขอกล่าวถึงเพียงวิธีเดียวคือ การใช้จำนวนคอมพลีเมนต์ (complement) แทนเลข จำนวนลบ เลขจำนวนลบหรือเลขที่มีค่าเป็นลบในที่นี้ จะหมายถึงตัวลบ เมื่อนำตัวลบเปลี่ยนเป็นจำนวนคอมพลีเมนต์แล้วนำไปบวกเข้ากับตัว ตั้ง ก็จะได้ผลลบที่ถูกต้องออกมา Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ 3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ การคอมพลีเมนต์เลขฐานสิบ มี 2 วิธี คือ 9’s complement และ 10’s complement การคอมพลีเมนต์เลขฐานสอง มี 2 วิธี คือ 1’s complement และ 2’s complement การคอมพลีเมนต์เลขฐานสิบ มี 2 วิธี คือ 7’s complement และ 8’s complement การคอมพลีเมนต์เลขฐานสิบ มี 2 วิธี คือ 15’s complement และ 16’s complement Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

ตารางที่ 3.1 แสดงจำนวนคอมพลีเมนต์ของเลขฐานต่างๆ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ 3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ และ 10’s complement คือ 9’s complement +1 8’s complement คือ 7’s complement +1 16’s complement คือ 15’s complement +1 2’s complement คือ 1’s complement +1 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ 3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ 3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ 3.3 การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐานต่างๆ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.4 การคูณเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.4 การคูณเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก หลักการคูณ 1. ตั้งคูณตามปกติเหมือนเลขฐานสิบ 2. ถ้าผลคูณมีค่าไม่มากกว่าเลขฐานนั้นๆ ให้ใส่ผลลัพธ์ได้เลย 3. กรณีผลคูณของคู่ใดมีค่ามากกว่าเลขฐานนั้นๆ ผลคูณที่ได้นั้นจะเป็นเลขฐานสิบ ให้ เปลี่ยนเป็นเลขฐานนั้น แล้วใส่ผลลัพธ์ และมีตัวทด 4. กรณีมีตัวทด ให้นำผลคูณของหลักถัดไปรวมกับตัวทดผลลัพธ์ที่ได้ แล้วจึงเริ่มทำข้อ 2 และทำไปเรื่อยๆ จนครบทุกคู่ 5. นำผลคูณของตัวคูณแต่ละหลักมารวมกัน Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.3 การคูณเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.3 การคูณเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.3 การคูณเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.3 การคูณเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.5 การหารเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.5 การหารเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก หลักการหาร 1. ใช้หลักของการคูณเข้ามาช่วย โดยการเดาผลหารก่อนแล้วนำผลที่ได้มาคูณกับตัวหาร 2. นำผลคูณที่ได้จากข้อ 1 มาลบกับตัวตั้ง โดยใช้หลักการลบของเลขฐานนั้นๆ 3. ทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนครบเหมือนการหารเลขฐานสิบ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.5 การหารเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.5 การหารเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3.5 การหารเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก 3.5 การหารเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

สรุป ในการการบวก ลบ คูณ หารเลขไบนารี่ จำเป็นที่จะต้องมีความรู้เบื้องต้นในการคำนวณ ทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก การลบ เลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก การใช้คอมพลีเมนต์แทนจำนวนลบของเลขฐาน ต่างๆ การคูณเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก การหารเลขฐานสอง เลขฐาน แปด เลขฐานสิบหก เป็นต้น Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

The End Lesson 3 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)