เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงาน ความหลากหลายของพืช.
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
ส่วนประกอบของดอก อรพร ยามโสภา Science:Plant_2 Oraporn Yamsopa.
ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower)
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
การเจริญเติบโตของพืช
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
Lab 2 การทดลองการแข่งขันกับวัชพืช
Cell Specialization.
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
การจัดเรียงตัวของเส้นใบ แบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
หูใบ (stipule) ใบอาจจะมีหูใบ (stipulate) หรือไม่มี (exstipulate, estipulate) ก็ได้ หูใบอาจแบ่งออกเป็นหลายแบบ คือ Ligule, Free lateral Stipule, Ochrea,
Habit of Plant……....
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
มาลัยกลม ความหมายของมาลัยกลม
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
การจำแนกพืช.
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ( เพิ่มเติม ) ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ความหลากหลายของพืช.
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
มาเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
ใบไม้.
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
ปีกของแมลง (Insect Wings)
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
ฟีโลทอง philodendron sp.
การออกแบบการเรียนรู้
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วย.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ดอกไม้ฤดูหนาว.
นางสาววิรากร ใจเอื้อย ตอนที่ 6 นางสาววิรากร ใจ เอื้อย.
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
Pasture and Forage Crops Glossary
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
ด. ญ. กานต์สิริทองจีน เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เสนอ อ. อรอุมาพงศ์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร ไม้ดอกชนิดพุ่ม.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก

1. พืชมีดอก พืชที่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะมีดอกไว้สำหรับสืบพันธุ์ จัดเป็นพืชชั้นสูง  พบเห็นอยู่ทั่วไป  เช่น มะม่วง ลำไย กุหลาบ มะลิ ถั่ว 

2. พืชไม่มีดอก เจริญเติบโตเต็มที่แล้วไม่มีดอก เจริญเติบโตเต็มที่แล้วไม่มีดอก  มีวิวัฒนาการต่ำกว่าพืชมีดอก  มีจำนวนชนิดไม่มากเท่าพืชมีดอก พบได้น้อยกว่าพืชมีดอก เช่น มอสส์ เฟิร์น สน ปรง แป๊ะก๊วย หวายทะนอย 

เนื้อหาย่อยที่ 2 พืชใบเลี้ยงคู่ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เนื้อหาย่อยที่ 2 พืชใบเลี้ยงคู่ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว

พืชใบเลี้ยงคู่ มีใบเลี้ยง 2 ใบ เห็นข้อและปล้องในส่วนของลำต้นไม่ชัดเจน มีใบเลี้ยง 2 ใบ เห็นข้อและปล้องในส่วนของลำต้นไม่ชัดเจน  ใบมีลักษณะกว้าง เส้นใบแตกแขนงเป็นร่างแห รากเป็นระบบรากแก้ว  กลีบดอกมีจำนวน 4 - 5 กลีบ หรือทวีคูณของ 4 – 5 เช่น ถั่ว พริก มะม่วง 

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีใบเลี้ยงเพียงใบเดียว มีใบเลี้ยงเพียงใบเดียว  เจริญเติบโตเต็มที่จะเห็นข้อและปล้องชัดเจน  ลักษณะใบแคบเรียว เส้นใบเรียงตัวในแนวขนาน  กลีบดอกมี 1 กลีบ หรือทวีคูณของ 3 รากเป็นระบบรากฝอย ตัวอย่างเช่น ข้าวโพด อ้อย หญ้า

เนื้อหาย่อยที่ 3 ส่วนประกอบของพืช เนื้อหาย่อยที่ 3 ส่วนประกอบของพืช

ผล ดอก เมล็ด ใบ ลำต้น ราก