ตัวอย่างคำสั่ง FOR.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Advertisements

อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ทบทวน & ลุยโจทย์ (Midterm)
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
Control Statement for while do-while.
User Defined Simple Data Type
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
Lecture no. 5 Control Statements
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
การแสดงผลและ รับข้อมูล. คำสั่ง Write เป็นคำสั่งที่นำข้อมูลที่ ต้องการแสดงผลที่ จอภาพเมื่อตอนสั่งรัน โปรแกรมไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวเลข การ.
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
Repetitive Statements (Looping)
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
Repetitive Instruction
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
SCC : Suthida Chaichomchuen
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
WHILE..DO คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ โดยที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนที่จะทำ
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง CASE.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
Chapter 7 Iteration Statement
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
Lecture 4 เรคอร์ด.
Week 6 การทำซ้ำโดย for loop
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Week 6 การทำซ้ำโดย for loop
Chapter 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Computer Programming for Engineers
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ.
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน 1. จํ านวนเต็ม (Integer Data Type) 2. จํ านวนจริง (Real Data Type) 3. ตัวอักขระ (Character Data Type) 4. ตรรกศาสตร ? (Boolean.
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
คำสั่งวนซ้ำ.
C-Programming บทที่ 8 การทำซ้ำ C Programming.
Flowchart การเขียนผังงาน.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
Week 5 While and Do-While loop (Control Structure 2)
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
Nested loop.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่างคำสั่ง FOR

คำสั่ง For คำสั่ง For เป็นการสั่งให้ทำงานซ้ำอย่างมีจำนวนรอบที่แน่นอน ลักษณะการทำงาน ลูป For จะควบคุมการทำงานของ Statement ให้ครบจำนวนที่กำหนดแล้วจึงเลิกทำรูปแบบ Loop For

รูปแบบการใช้งาน For ตัวแปร := ค่าเริ่มต้น(น้อย) TO ค่าสุดท้าย(มาก) DO For ตัวแปร := ค่าเริ่มต้น(มาก) DownTO ค่าสุดท้าย(น้อย) DO

รูปแบบคำสั่ง แบบที่ 1 FOR ตัวแปร := ค่าเริ่มต้น TO ค่าสุดท้าย DO BEGIN Statement1; Statement2; Statement3; : Statement; END;

ตัวอย่างคำสั่ง PROGRAM FOR_I; Uses wincrt; VAR COUNT : INTEGER; BEGIN {MAIN} FOR COUNT := 1 TO 5 DO WRITELN(COUNT); END.

ตัวอย่างคำสั่ง PROGRAM FOR_II; Uses wincrt; VAR COUNT : INTEGER; BEGIN {MAIN} FOR COUNT := 1 TO 5 DO WRITELN(‘COMPUTER’); END.

ตัวอย่างคำสั่ง for PROGRAM FOR_iii; Uses wincrt; VAR Count : INTEGER; BEGIN FOR Count := 1 TO 10 DO Write(Count); Writeln(‘Computer’); END; END.

PROGRAM FOR_N; Uses wincrt; VAR COUNT : INTEGER; BEGIN FOR COUNT := 1 TO 5 DO Write(COUNT,’ ‘); Write(‘CHANTRA,’ ‘); Write(‘4370280028‘); END; END.

โปรแกรมแสดงเลข 1 ถึง จำนวนใดก็ได้ PROGRAM FOR_N; Uses wincrt; VAR K,N : INTEGER; BEGIN Write(‘Please input last number’);readln(N); FOR K := 1 TO N DO Write(K,’ ‘); END.

PROGRAM FORDOWN; Uses wincrt; VAR B : INTEGER; BEGIN FOR B := 5 DOWNTO 1 DO Write(B,’*’,B, ‘= ‘, B*B); END; END.

PROGRAM ztoa; Uses wincrt; VAR ch : char; BEGIN FOR ch := ‘Z’ DOWNTO ‘A’ DO write(ch,’ ‘); END.

การหาค่าผลบวก 1-10 Program for_sum; Uses wincrt; Var K,sum : Integer; Begin Sum := 0; For K := 1 to 10 Do Sum:=Sum+K; write(K,’ ‘); End; Writeln; Writeln(‘result sum 1…10=’,sum); End. การหาค่าผลบวก 1-10 ผลการรันคือ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 result sum 1…10= 55

การหาค่าผลบวก 1-10 และหาค่าเฉลี่ยช่วงตัวเลข Program for_average; Uses wincrt; Var K,sum,N: Integer; Average : Real; Begin Sum := 0; N:=0; For K := 1 to 10 Do Sum:=Sum+K; write(K,’ ‘); N := N+1; {นับจำนวนรอบ} End; Writeln; Writeln(‘result sum 1…10=’,sum); Average := Sum/N; Writeln(‘result average 1…10=’,Average:6:2); End. ผลการรันคือ 2 3 4 5 6 7 8 9 10 result sum 1…10= 55 result Average 1…10= 5.5

รูปแบบที่ 2 For การใช้ Loop For ซ้อน For For…TO…DO BEGIN Statement; END; ลักษณะการทำงาน Loop ซ้อน Loop การทำงานจะเริ่มทำ Loop ที่อยู่ในสุดให้เสร็จก่อน แล้งจึงทำคำสั่งใน Loop ที่อยู่ข้างนอกตามลำดับ

PROGRAM DEMO_FOR; Uses wincrt; VAR I,J : INTEGER; BEGIN FOR I := 1 TO 3 DO Write(I, ‘ ‘); FOR J := 1 TO 2 DO Write(j, ‘ ‘); END; END.

Program rightriangle; Uses wincrt; Var row,column :integer; Begin For row := 1 to 5 do For column := 1 to row do Write(‘*’); writeLn; End; End.

แบบฝึกหัด ให้เขียนโปรแกรมบวกเลข 1 ถึงจำนวนใดก็ได้ (ป้อนจำนวนที่ต้องการและให้แสดงผลลัพธ์ดังนี้ (คำสั่ง FOR) 1 2 : N SUM = 55 ให้เขียนโปรแกรมยกกำลัง 3 ของจำนวน 5 ถึง 10 (For) 5 ยกกำลัง 3 = 125 6 ยกกำลัง 3 = 216 7 ยกกำลัง 3 = 343 8 ยกกำลัง 3 = 512 9 ยกกำลัง 3 = 729 10 ยกกำลัง 3 = 1000

แบบฝึกหัด 3. จงเขียนโปรแกรมใช้คำสั่ง For เพื่อแสดงตัวอักษรจาก A ถึง Z 4. จงเขียนโปรแกรมแสดงสูตรคูณ โดยให้ผู้ใช้ป้อนแม่สูตรคูณที่ต้องการและแสดงผลดังนี้ please Input number 2 2 x 1 = 2 2 x 2 = 4 2 x 3 = 6 : 2 x 12 = 24 5. แสดงข้อความใด ๆ ตามที่ผู้ใช้ป้อนและให้ป้อนจำนวนครั้งที่ต้องการ