ตัวอย่างคำสั่ง FOR
คำสั่ง For คำสั่ง For เป็นการสั่งให้ทำงานซ้ำอย่างมีจำนวนรอบที่แน่นอน ลักษณะการทำงาน ลูป For จะควบคุมการทำงานของ Statement ให้ครบจำนวนที่กำหนดแล้วจึงเลิกทำรูปแบบ Loop For
รูปแบบการใช้งาน For ตัวแปร := ค่าเริ่มต้น(น้อย) TO ค่าสุดท้าย(มาก) DO For ตัวแปร := ค่าเริ่มต้น(มาก) DownTO ค่าสุดท้าย(น้อย) DO
รูปแบบคำสั่ง แบบที่ 1 FOR ตัวแปร := ค่าเริ่มต้น TO ค่าสุดท้าย DO BEGIN Statement1; Statement2; Statement3; : Statement; END;
ตัวอย่างคำสั่ง PROGRAM FOR_I; Uses wincrt; VAR COUNT : INTEGER; BEGIN {MAIN} FOR COUNT := 1 TO 5 DO WRITELN(COUNT); END.
ตัวอย่างคำสั่ง PROGRAM FOR_II; Uses wincrt; VAR COUNT : INTEGER; BEGIN {MAIN} FOR COUNT := 1 TO 5 DO WRITELN(‘COMPUTER’); END.
ตัวอย่างคำสั่ง for PROGRAM FOR_iii; Uses wincrt; VAR Count : INTEGER; BEGIN FOR Count := 1 TO 10 DO Write(Count); Writeln(‘Computer’); END; END.
PROGRAM FOR_N; Uses wincrt; VAR COUNT : INTEGER; BEGIN FOR COUNT := 1 TO 5 DO Write(COUNT,’ ‘); Write(‘CHANTRA,’ ‘); Write(‘4370280028‘); END; END.
โปรแกรมแสดงเลข 1 ถึง จำนวนใดก็ได้ PROGRAM FOR_N; Uses wincrt; VAR K,N : INTEGER; BEGIN Write(‘Please input last number’);readln(N); FOR K := 1 TO N DO Write(K,’ ‘); END.
PROGRAM FORDOWN; Uses wincrt; VAR B : INTEGER; BEGIN FOR B := 5 DOWNTO 1 DO Write(B,’*’,B, ‘= ‘, B*B); END; END.
PROGRAM ztoa; Uses wincrt; VAR ch : char; BEGIN FOR ch := ‘Z’ DOWNTO ‘A’ DO write(ch,’ ‘); END.
การหาค่าผลบวก 1-10 Program for_sum; Uses wincrt; Var K,sum : Integer; Begin Sum := 0; For K := 1 to 10 Do Sum:=Sum+K; write(K,’ ‘); End; Writeln; Writeln(‘result sum 1…10=’,sum); End. การหาค่าผลบวก 1-10 ผลการรันคือ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 result sum 1…10= 55
การหาค่าผลบวก 1-10 และหาค่าเฉลี่ยช่วงตัวเลข Program for_average; Uses wincrt; Var K,sum,N: Integer; Average : Real; Begin Sum := 0; N:=0; For K := 1 to 10 Do Sum:=Sum+K; write(K,’ ‘); N := N+1; {นับจำนวนรอบ} End; Writeln; Writeln(‘result sum 1…10=’,sum); Average := Sum/N; Writeln(‘result average 1…10=’,Average:6:2); End. ผลการรันคือ 2 3 4 5 6 7 8 9 10 result sum 1…10= 55 result Average 1…10= 5.5
รูปแบบที่ 2 For การใช้ Loop For ซ้อน For For…TO…DO BEGIN Statement; END; ลักษณะการทำงาน Loop ซ้อน Loop การทำงานจะเริ่มทำ Loop ที่อยู่ในสุดให้เสร็จก่อน แล้งจึงทำคำสั่งใน Loop ที่อยู่ข้างนอกตามลำดับ
PROGRAM DEMO_FOR; Uses wincrt; VAR I,J : INTEGER; BEGIN FOR I := 1 TO 3 DO Write(I, ‘ ‘); FOR J := 1 TO 2 DO Write(j, ‘ ‘); END; END.
Program rightriangle; Uses wincrt; Var row,column :integer; Begin For row := 1 to 5 do For column := 1 to row do Write(‘*’); writeLn; End; End.
แบบฝึกหัด ให้เขียนโปรแกรมบวกเลข 1 ถึงจำนวนใดก็ได้ (ป้อนจำนวนที่ต้องการและให้แสดงผลลัพธ์ดังนี้ (คำสั่ง FOR) 1 2 : N SUM = 55 ให้เขียนโปรแกรมยกกำลัง 3 ของจำนวน 5 ถึง 10 (For) 5 ยกกำลัง 3 = 125 6 ยกกำลัง 3 = 216 7 ยกกำลัง 3 = 343 8 ยกกำลัง 3 = 512 9 ยกกำลัง 3 = 729 10 ยกกำลัง 3 = 1000
แบบฝึกหัด 3. จงเขียนโปรแกรมใช้คำสั่ง For เพื่อแสดงตัวอักษรจาก A ถึง Z 4. จงเขียนโปรแกรมแสดงสูตรคูณ โดยให้ผู้ใช้ป้อนแม่สูตรคูณที่ต้องการและแสดงผลดังนี้ please Input number 2 2 x 1 = 2 2 x 2 = 4 2 x 3 = 6 : 2 x 12 = 24 5. แสดงข้อความใด ๆ ตามที่ผู้ใช้ป้อนและให้ป้อนจำนวนครั้งที่ต้องการ