PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ครั้งที่ 8 Function.
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Control structure part II
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
การแสดงผลและ รับข้อมูล. คำสั่ง Write เป็นคำสั่งที่นำข้อมูลที่ ต้องการแสดงผลที่ จอภาพเมื่อตอนสั่งรัน โปรแกรมไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวเลข การ.
Repetitive Statements (Looping)
ฟังก์ชั่น function.
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC - Suthida Chaichomchuen
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
SCC : Suthida Chaichomchuen
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
Association Abstraction
SCC : Suthida Chaichomchuen
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
Operators ตัวดำเนินการ
1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
CHAPTER 1 Major Sources of Errors in Numerical Methods
1 Structures & Records SCC : Suthida Chaichomchuen
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย MS Visual Basic 2010 ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 17 คำสั่งตารางและการสร้างแมคโคร
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
Chapter 16 / Unit 77 : VB : Subprogram & Function Senior Cybernaut ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย SL102017/04C /ISSUE2.
TURBO PASCAL OUTLINE 1. บทนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Lecture 4 เรคอร์ด.
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ.
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
โปรแกรมย่อย (Sub Program)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>> SCC : Suthida Chaichomchuen std@kmitnb.ac.th

PROCEDURE หมายถึง โปรแกรมย่อย ซึ่งส่วนอื่น ๆ ของโปรแกรมสามารถเรียกใช้งานได้

ประโยชน์ ใช้แทนคำสั่งที่ใช้ซ้ำกันหลายครั้งในโปรแกรม ช่วยให้โปรแกรมมีขนาดกะทัดรัด และอ่านเข้าใจง่าย ช่วยในการค้นหาส่วนที่ผิดพลาดได้ง่าย สามารถนำไปใช้ในโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ทำให้ประหยัดเลาในการเขียนโปรแกรม

ตำแหน่งของ PROCEDURE วางไว้ในส่วนของการประกาศใช้ข้อมูล (ส่วนที่ 2) ของโปรแกรม

ตำแหน่งในโปรแกรม PROCEDURE PROGRAM ชื่อโปรแกรม; USES LABEL CONST TYPE VAR PROCEDURE BEGIN ชุดคำสั่ง END.

โครงสร้างของ PROCEDURE PROCDURE ชี่อโปรแกรมย่อย; LABEL CONST TYPE VAR BEGIN ชุดคำสั่ง; END;

สิ่งที่แตกต่างจากโปรแกรม ไม่มี USES ต้องกำหนดชื่อ โปรแกรมย่อย ทุกครั้ง จบ PROCEDURE ด้วยคำสั่ง END;

ตัวอย่างการประกาศ PROCEDURE PROCEDURE Line; BEGIN writeln(‘--------------------’); END; สร้างโปรแกรมย่อยชื่อ Line ซึ่งใช้แสดงเส้น -------------------- ออกทางจอภาพ

การเรียกใช้ PROCEDURE PROGRAM DispLine; USES WinCrt; PROCEDURE Line; BEGIN writeln(‘--------------------’); END; Line; END.

ส่วนหัวของ PROCEDURE มี 2 แบบคือ PROCEDURE ชื่อ; พารามิเตอร์ คือ ชื่อของตัวแปรชนิดต่าง ๆ เรียกว่า Formal parameter

Formal Parameter มี 4 ประเภทคือ Value parameter Variable parameter Procedure parameter Function parameter

Value Parameter เป็นพารามิเตอร์ซึ่งมีหน้าที่รับค่าเข้ามาใน procedure มีการประกาศดังนี้ ชื่อพารามิเตอร์ : ชนิดของข้อมูล; เช่น total:integer; price,number:real;

Variable Parameter เป็นพารามิเตอร์ซึ่งมีหน้าที่รับค่าเข้ามาใน procedure และสามารถส่งค่าออกจาก procedure ไปยังโปรแกรมหลักได้ด้วย มีการประกาศใช้ดังนี้ VAR ชื่อพารามิเตอร์ : ชนิดของข้อมูล; เช่น VAR total:integer; VAR price,number:real;

การใช้งาน Value parameter PROGRAM DispLine; USES WinCrt; PROCEDURE Line(n:integer); VAR i:integer; BEGIN FOR i:=0 TO n DO writeln(‘--------------------’); END; Line(10); END.

การใช้งาน Variable parameter PROGRAM ChangeValue; USES WinCrt; VAR n:integer; PROCEDURE Double(VAR n:integer); BEGIN n:=2*n; END; n:=10; writeln(‘N1=‘,n); Double(n); writeln(‘N2=‘,n); END.

ประเภทของชื่อพารามิเตอร์ มี 2 แบบคือ Global Identifier ชื่อที่ถูกกำหนดในส่วนของโปรแกรมหลัก สามารถเรียกใช้ได้ทุกส่วนของโปรแกรม Local Identifier ชื่อที่ถูกกำหนดในส่วนของโปรแกรมย่อย สามารถเรียกใช้ได้เฉพาะโปรแกรมย่อยนั้น ๆ

ชื่อพารามิเตอร์ ชื่อของพารามิเตอร์ที่กำหนดอยู่ใน procedure (Local identifier) และชื่อของพารามิเตอร์ที่กำหนดอยู่ในโปรแกรมหลัก (Global identifier) สามารถใช้ชื่อเดียวกัน และชนิดเดียวกันได้ การเปลี่ยนแปลงของค่าพารามิเตอร์จะไม่มีผลต่อกัน

ชื่อพารามิเตอร์ ชื่อของพารามิเตอร์ที่กำหนดอยู่ในโปรแกรมหลัก (Global identifier) สามารถเปลี่ยนแปลงของค่าได้ หากถูกเรียกใช้ในโปรแกรมย่อย