หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PINKLAO USES FOR HANGING THE ARM & LEG 2010
Advertisements

ตรวจเต้านม ด้วยตนเอง วิชาการกายภาพบำบัด
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การปฏิบัติตนในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดACL Reconstruction
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การบริหารกล้ามเนื้อต้นคอ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
การตรวจเท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะไตวาย.
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การเป็นลมและช็อก.
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
การพันผ้า (Bandaging)
กำมือ ข้อนิ้วชี้คลึงหนักๆ ที่ด้านข้างกึ่งกลางศีรษะ 5 วินาที 5 ครั้ง
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
การนวดไทยแบบราชสำนัก
นิ้วหัวแม่มือกดกลางฝ่ามือ กด นับ 3 ; คลาย นับ 3 ; 5 ครั้ง
การตรวจ มะเร็งเต้านมด้วยตนเอง.
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
ไดร์เป่าผม เป่าขอบก้นสองข้างให้ทั่ว 1 นาที
เพิ่มความยืดหยุ่นข้อต้นขา
คลายกล้ามเนื้อแนวสันหลัง
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก เฝือก โดย จิรารัตน์ อินเหลา หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก

การปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยใส่เฝือก โดย คณะกรรมการสุขศึกษา หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก

1. เปิดบริเวณที่เข้าเฝือกให้อากาศถ่ายเทสะดวกเฝือกจะแห้งภายใน 24 - 48 ชั่วโมง ห้ามวางเฝือกพาดบนขอบแข็ง หรือเดินลงน้ำหนักเต็มที่ หลังจากนั้นต้องใช้ไม้ค้ำยัน ยกเว้นกรณีที่แพทย์อนุญาตให้ลงน้ำหนักได้โดยไม่ต้องใช้ไม้ค้ำยัน

2. ยกส่วนที่เข้าเฝือกให้สูงกว่าระดับหัวใจ โดยวางบนหมอน 2. ยกส่วนที่เข้าเฝือกให้สูงกว่าระดับหัวใจ โดยวางบนหมอน 3. เฝือกควรสะอาดและแห้งเสมอ เวลาอาบน้ำใช้พลาสติกคลุมเฝือกให้มิดชิด

4. ห้าม สอดวัสดุแปลกปลอมเข้าไปในเฝือก หรือใช้วัสดุทุกชนิดแยงเข้าไปในเฝือกเพื่อเกา เวลาคันเพราะอาจทำให้เกิดแผลกดทับหรือผิวหนังถลอก ถ้าคันใช้แอลกอฮอล์ 75 % หยดลงไปบริเวณที่คันหรือเป่าลมเย็นเข้าไป ถ้าคันมากควรปรึกษาแพทย์

5. ห้ามดึงสำลีที่รองใต้เฝือกออก เพราะสำลีจะช่วยให้เฝือกกระชับแน่นกับแขนหรือขา ทำให้กระดูกอยู่นิ่งได้ดี และจะช่วยป้องกันใบเลื่อยตัดเฝือกไม่ให้ถูกผิวหนังเวลาเอาเฝือกออก ข้อห้าม

6. ต้องปรึกษาแพทย์ทันทีเมื่อมีอาการผิดปกติ ดังต่อไปนี้ 6.1 ปวดและตึงบริเวณที่ใส่เฝือกมาก เมื่อยกสูงและรับประทานยาที่แพทย์จัดไว้แล้วอาการไม่ดีขึ้น 6.2 ปลายนิ้ว บวม เย็น มีสีซีดหรือคล้ำ ปลายนิ้วเคลื่อนไหวไม่ได้ 6.3 มีอาการปวด ชา ไม่มีความรู้สึกหรือมีอาการปวดร้อน 6.4 เฝือกร้าว หรือเฝือกแตกหัก 6.5 ถ้าเฝือกมีกลิ่นเหม็น หรือมีน้ำเหลืองซึมออกมา

7. ห้ามเอาเฝือกออกเอง หรือตัดเฝือกให้สั้นลง 7. ห้ามเอาเฝือกออกเอง หรือตัดเฝือกให้สั้นลง

8. ออกกำลังเคลื่อนไหวข้อที่อยู่นอกเฝือกอยู่เสมอ เพราะจะทำให้เลือดไหลเวียนดี ลดอาการบวม กล้ามเนื้อแขนขาไม่ลีบ และกระดูกติดเร็ว 8.1 เฝือกขาให้เกร็ง กล้ามเนื้อต้นขา โดยให้ผู้ป่วยเกร็งกล้ามเนื้อประมาณ 5 วินาที โดยการนับ 1 - 5 แล้วคลาย รวมทั้งออกกำลังข้อสะโพกและนิ้วเท้า 8.2 เฝือกแขน โดยเกร็งกล้ามเนื้อแขน และออกกำลังข้อไหล่นิ้วมือ โดยพยายามกำมือและเหยียดมือสลับกันบ่อยๆ

9. รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น นม ปลา ตัวเล็กที่ รับประทานได้ทั้งตัว ไข่แดง รวมทั้งเนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ต่างๆ 10. มาตรวจตามแพทย์นัดทุกครั้ง

จากคณะกรรมการสุขศึกษา หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก ด้วยความปรารถนาดี จากคณะกรรมการสุขศึกษา หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก