นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
Advertisements

ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
Ovarian tumor, morbid obesity
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
การผดุงครรภ์ไทย.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การนวดไทยแบบราชสำนัก
Tonsillits Pharynngitis
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ โดย... ห้องตรวจพิเศษศัลยกรรม 2 รพ.มหาราชนครเชียงใหม่

รูปแสดงอวัยวะของระบบทางเดินปัสสาวะ ไต ท่อไต ท่อปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะ

นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ นิ่วเกิดจากสารประกอบในน้ำปัสสาวะตกตะกอน รวมตัวจับเป็นก้อนมีลักษณะคล้ายกรวด หิน ทราย

สาเหตุการเกิดนิ่ว 1.อายุ เพศ พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง 2.กรรมพันธุ์ 3.ภาวะขาดน้ำอย่างเรื้อรัง 4.มีการคั่งของน้ำปัสสาวะ 5.การดื่มน้ำน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย

นิ่วในไต อาการและอาการแสดง 1.ปวดตื้อๆ บริเวณสีข้าง 2.มีก้อนนิ่วหรือเม็ดทรายหลุดมากับน้ำปัสสาวะ 3.ปัสสาวะเป็นเลือด 4.ถ้ามีการติดเชื้อร่วมจะมีไข้สูง หนาวสั่น 5.กดเจ็บบริเวณหลัง

นิ่วในท่อไต อาการและอาการแสดง 1ปวดร้าวไปตามท่อไต หรือปวดตื้อๆ 2.ปัสสาวะเป็นเลือด 3.มีอาการคลื่นไส้อาเจียน 4.กดเจ็บบริเวณหลังหรือสีข้าง 5.มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะขุ่นปนหนอง

นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ..... อาการและอาการแสดง 1.ปัสสาวะสะดุด ปัสสาวะขัด 2.ปวดเบ่งและปวดร้าวไปยังส่วนปลาย องคชาต 3.ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะขุ่น 4.ปัสสาวะเป็นเลือด 5.อาจคลำได้ก้อนบริเวณท้องน้อย

ถ่ายปัสสาวะไม่ออกทันที นิ่วในท่อปัสสาวะ อาการและอาการแสดง 1.ปัสสาวะขัดหรือ ถ่ายปัสสาวะไม่ออกทันที 3.ปัสสาวะมีขนาดเล็กลง และพุ่งไม่แรง 2.ปวดร้าวไปที่ ส่วนปลาย องคชาต 5.อาจคลำได้ก้อนนิ่ว ในท่อปัสสาวะ 4.มีก้อนนิ่วปนออกมา กับน้ำปัสสาวะ

การวินิจฉัยโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ 1.ตรวจปัสสาวะ เพาะเชื้อปัสสาวะ 2.ตรวจเลือด 3.การเอกซเรย์(KUB)

1. การผ่าตัดเพื่อเอานิ่วออก การรักษา 1. การผ่าตัดเพื่อเอานิ่วออก 2. การเอานิ่วออก โดยการส่องกล้อง เจาะเข้าทางผิวหนัง

3. การสลายนิ่วในไตและท่อไต 4. การขบนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

โดยวิธีการสลายนิ่ว การรักษานิ่ว การรักษานิ่วในไตและท่อไตด้วยเครื่องสลายนิ่วจะเริ่มด้วยการหาตำแหน่งก้อนนิ่วสัมพันธ์กับตำแหน่งจุดโฟกัสของคลื่นสั่นสะเทือน โดยใช้เอกซเรย์ หรืออุลตราซาวน์ เมื่อก้อนนิ่วตรงกับจุดโฟกัส จะเริ่มปล่อยคลื่นสั่นสะเทือนเข้าหาตำแหน่งก้อนนิ่วเป็นระยะๆ จนก้อนนิ่วถูกสลายเป็นผง ถ้ามีก้อนนิ่วเหลืออยู่จะนัดมาทำในครั้งต่อไป

การปฏิบัติตัวหลังได้รับการสลายนิ่ว 1. ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 3000 ซีซี / วัน 2. หลังการสลายนิ่วอาจมีปัสสาวะเป็นสีแดง เหมือนน้ำล้างเนื้อในระยะ 1 - 2 วันแรก 3. ถ้ารู้สึกปวดมาก มีไข้ หรือปัสสาวะไม่ออก ให้รีบมาพบแพทย์ทันที 4. มารับการตรวจตามที่แพทย์นัดทุกครั้ง

ข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดนิ่ว 1. ควรดื่มน้ำสะอาดวันละ 3 ลิตร / วัน 2. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ 3. ลดอาหารที่มีสารแคลเซียมสูง เช่น ผักโขม ใบชะพลู เพราะจะตกผลึกกลายเป็นก้อนนิ่วได้

4. ควรหลีกเลี่ยงอาหารรสเค็มจัด 5. ควรรับประทานอาหารที่มีวิตามินเอ เช่น ฟักทอง มะละกอ 6. ควรออกกำลังกายเป็นประจำ โดยการวิ่งเหยาะ ๆ จะทำให้นิ่วก้อนเล็กๆ หลุดออกมาได้ 7. ไม่ควรกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน