การหาปริพันธ์ (Integration)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Antiderivatives and Indefinite Integration
Advertisements

แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
Review of Ordinary Differential Equations
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
MATLAB Week 7.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
ฟังก์ชัน y เป็นฟังก์ชันของ x ก็ต่อเมื่อ มีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y โดยเราสามารถหาค่า y ได้เมื่อกำหนดค่าของ x ให้ เช่น y = x2+1 เรียก y.
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 15.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
Quadratic Functions and Models
ประมวลการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ 2
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
วงรี ( Ellipse).
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
บทที่ 7 เทคนิคการหาปริพันธ์ (Techniques of Integration)
อินทิกรัลของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การหาปริพันธ์ (Integration) ถ้าฟังก์ชัน F(x) มีอนุพันธ์คือ f(x) หรือก็คือ เราเรียกฟังก์ชัน F(x) ว่าเป็นปฏิยานุพันธ์ (antiderivative)ของ f(x) เช่น x2 เป็นปฏิยานุพันธ์ ของ 2x เช่น sin x เป็นปฏิยานุพันธ์ ของ cos x เช่น (sin x)+10 เป็นปฏิยานุพันธ์ ของ cos x

ปฏิยานุพันธ์ ของ f(x) อาจจะมีได้หลายตัวเช่น x2, x2+1, x2-1, x2+e, x2- , ... เป็นปฏิยานุพันธ์ ของ 2x หมายเหตุ อนุพันธ์ของค่าคงตัวใดๆ มีค่าเท่ากับ 0 เราเรียกเซตของปฏิยานุพันธ์ดังกล่าวว่า ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต (indefinite integral) และใช้สัญลักษณ์ว่า เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ

อนุพันธ์ ปริพันธ์ เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ

อนุพันธ์ ปริพันธ์ เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ

อนุพันธ์ ปริพันธ์ เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ

อนุพันธ์ ปริพันธ์

ปริพันธ์

อนุพันธ์ ปริพันธ์ เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ

อนุพันธ์ ปริพันธ์ เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ

คุณสมบัติความเป็นเชิงเส้นของการหาปริพันธ์ไม่จำกัดเขต เมื่อ k เป็นค่าคงตัวใดๆ เมื่อ k1, k2 เป็นค่าคงตัวใดๆ

ปริพันธ์

ปริพันธ์

กฎลูกโซ่

การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่ Integration by Substitution การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่เป็นเสมือนบทกลับของการหาอนุพันธ์โดยใช้กฎลูกโซ่

ดังนั้น differential ของ u คือ พิจารณา ถ้าให้ พบว่า ดังนั้น differential ของ u คือ แสดงว่า แทนค่า u กลับ เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ

อนุพันธ์ของผลคูณ

การหาปริพันธ์ทีละส่วน Integration by Parts การหาปริพันธ์ทีละส่วนเป็นเสมือนบทกลับของการหาอนุพันธ์ของผลคูณ

การหาปริพันธ์โดยวิธีแยกเศษส่วนย่อย Integration by Partial Fractions การหาปริพันธ์โดยวิธีแยกเศษส่วนย่อย โดยส่วนใหญ่จะใช้สำหรับการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันตรรกยะ

ฟังก์ชันตรรกยะ ฟังก์ชันตรรกยะคือฟังก์ชันที่สามารถถูกเขียนได้ในรูป ของเศษส่วนของพหุนาม เช่น เศษคือพหุนาม 1 ส่วนคือพหุนาม x+3 เศษคือพหุนาม x2+2 ส่วนคือพหุนาม x3+3x+1 เศษคือพหุนาม x3+1 ส่วนคือพหุนาม(x+1)3

ตัวอย่าง เราพบว่า ดังนั้น

การแยกเศษส่วนย่อย ฟังก์ชัน สามารถแยกได้เป็น หมายเหตุ n ต้องน้อยกว่า m

ตัวอย่าง

การแยกเศษส่วนย่อย ฟังก์ชัน สามารถแยกได้เป็น หมายเหตุ n ต้องน้อยกว่า m

ตัวอย่าง

การแยกเศษส่วนย่อย ฟังก์ชัน สามารถแยกได้เป็น

ตัวอย่าง

การแยกเศษส่วนย่อย ฟังก์ชัน (ไม่สามารถแยกตัวประกอบ aix2+bix+ci=0, i=1,…,m ได้) สามารถแยกได้เป็น

ตัวอย่าง

การแยกเศษส่วนย่อย ฟังก์ชัน (ไม่สามารถแยกตัวประกอบ a2x2+b2x+c2=0 ได้) สามารถแยกได้เป็น

ตัวอย่าง

การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่ด้วยฟังก์ชันตรีโกณ Integration by Trigonometric Substitution การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่ด้วยฟังก์ชันตรีโกณเป็นการขยายแนวคิดจากการหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่

การหาปริพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณ

ฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิก Hyperbolic Functions ฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิกเป็นฟังก์ชันพีชคณิตของ และ ซึ่งมีลักษณะบางอย่างคล้ายกับฟังก์ชัน ตรีโกณมิติ

นิยาม

อนุพันธ์

ค่าของปริพันธ์ เท่ากับเท่าใด (1) (2) (3) (4) (5) หมายเหตุ เป็นค่าคงตัวใดๆ

ค่าของปริพันธ์ เท่ากับเท่าใด (1) (2) (3) (4) (5) หมายเหตุ เป็นค่าคงตัวใดๆ

สูตรพื้นฐานสำหรับการหาค่าปริพันธ์ Basic Integral Formulae ส่วนที่ยากที่สุดในการหาปริพันธ์คือ “การเลือกใช้วิธี คิดที่เหมาะสมสำหรับการหาปริพันธ์ในแต่ละครั้ง”

การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่ Integration by Substitution การหาปริพันธ์ทีละส่วน Integration by Parts การหาปริพันธ์โดยวิธีแยกเศษส่วนย่อย Integration by Partial Fractions การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่ด้วยฟังก์ชันตรีโกณ Integration by Trigonometric Substitution