การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สหสัมพันธ์ (correlation)
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ (Standard Error of Estimate: SEE)
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การคำนวณทางสถิติ (Statistics worksheet)
Menu Analyze > Correlate
การทดสอบสมมติฐาน
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
สหสัมพันธ์ (correlation)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
วงรี ( Ellipse).
Week 11 Basic Programs 2.
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
ความชันและสมการเส้นตรง
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Correlation Tipsuda Janjamlha 06 Sep. 08. X1X2 > interval Ho: ตัวแปรทั้ง 2 ไม่มี ความสัมพันธ์กัน Ha: ตัวแปรทั้ง 2 มีความสัมพันธ์ กัน.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คู่อันดับและกราฟของคู่อันดับ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวโดยทั่วไปจะศึกษาใน 3 ลักษณะ คือ 1. มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ 2. มีความสัมพันธ์กันมากน้อยเพียงใด 3. มีความสัมพันธ์กันในทิศทางใด

มีความสัมพันธ์ทางบวก มีความสัมพันธ์ทางลบอย่างสมบูรณ์ ( r เป็นบวก ) มีความสัมพันธ์ทางลบ ( r เป็นลบ ) มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างสมบูรณ์ ( r = +1.00 ) มีความสัมพันธ์ทางลบอย่างสมบูรณ์ ( r = -1.00 )

1.1 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันโพรดักโมเมนต์ เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวแปร คือตัวแปร X และตัวแปร Y ที่ไม่ได้สนใจว่าตัวใดเป็นเหตุและตัวใดเป็นผลซึ่งเขียนแทนด้วย สูตรที่ 1 คำนวณโดยใช้คะแนนมาตรฐาน เมื่อ แทน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X และตัวแปร Y แทน คะแนนมาตรฐานแต่ละค่าของตัวแปร X แทน คะแนนมาตรฐานแต่ละค่าของตัวแปร Y n แทน จำนวนคู่ของข้อมูล

สูตรที่ 2 คำนวณโดยใช้คะแนนที่เป็นค่าเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ย สูตรที่ 2 คำนวณโดยใช้คะแนนที่เป็นค่าเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ย เมื่อ แทน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร X กับตัวแปร Y n แทน จำนวนคู่ของข้อมูล แทน ผลรวมทั้งหมดของผลคูณของตัวแปร XกับตัวแปรY แทน ผลรวมของตัวแปร X แทน ผลรวมของตัวแปร Y แทน ผลรวมของตัวแปร X แต่ละค่ายกกำลังสอง แทน ผลรวมของตัวแปร Y แต่ละค่ายกกำลังสอง สูตรที่2 เป็นสูตรที่นิยมใช้มากที่สุด เพราะข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ส่วนใหญ่อยู่ในรูปคะแนนดิบ

ตัวอย่าง จงหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์กับคะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนิสิตจำนวน 6 คนดังตาราง

จากตารางจะได้ n = 6, =46, =37, =374, =247, =287

แทนค่าในสูตร = 0.17

1.2 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบอันดับที่ของสเปียร์แมนหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า rank correlation เป็นวิธีการทางสถิติในการศึกษาความสัมพันธ์ของ 2 ตัวแปร จากกลุ่มตัวอย่างเดียวกัน โดยข้อมูลที่ได้จากตัวแปรทั้งสองอยู่ในมาตราเรียงอันดับ(ordinal scale) สูตรที่ใช้คือ แทน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ D แทน ผลต่างอันดับที่ของข้อมูลแต่ละคู่ n แทน จำนวนคู่ของข้อมูล

ตัวอย่าง ผลการเรียงอันดับความตั้งใจเรียนของนิสิตปริญญาเอก จำนวน 6 คน โดยอาจารย์ที่ปรึกษา และคณบดีได้ผลการจัดอันดับดังนี้

นิสิตจำนวน 6 คน ดังนั้น n = 6 แทนค่าในสูตร = 1-1.03 = - 0.03

การถดถอย คือ ค่าแนวโน้มที่แปรตามตัวแปรเวลาที่เราต้องการหา a คือ ระยะทางจากจุดกำเนิดถึงจุดตัดบนแกน y b คือ ความชันของสมการเส้นตรง คือ ตัวแปรเวลา ณ เวลาที่ t

ตัวอย่าง บริษัท Stat ขายสินค้ามีหน่วยเป็นล้านบาท จงคำนวณหาสมการ เส้นตรง แสดงแนวโน้มของมูลค่าการขาย

= 10, =50, = 113, = 30 n = 5, = 2, = 1 b = 1.3 a = 7.4 ดังนั้นสมการแนวโน้มคือ = 7.4 + 1.3 xt