แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ENGINEERING MATHAMETICS 1
Advertisements

ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
พาราโบลา (Parabola).
Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Review of Ordinary Differential Equations
ความเท่ากันทุกประการ
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
การประยุกต์ใช้อนุพันธ์
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ฟังก์ชัน y เป็นฟังก์ชันของ x ก็ต่อเมื่อ มีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y โดยเราสามารถหาค่า y ได้เมื่อกำหนดค่าของ x ให้ เช่น y = x2+1 เรียก y.
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาปริพันธ์ (Integration)
Functions and Their Graphs
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
วงรี ( Ellipse).
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน Derivative of function
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความชันและสมการเส้นตรง
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยการคลิ้กเม้าหน้าตัวเลือกที่ถูกต้อง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
Calculus I (กลางภาค)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y Y = f(x) x เป็นตัวแปรอิสระ (Independent variable) y เป็นตัวแปรตาม (Dependent variable)

2. ลิมิตของฟังก์ชัน (limit of function) พิจารณา f(x) = (2x + 3)(x-1) หาค่าไม่ได้ที่ x = 1 (x-1) lim f(x) x<1 x>1 x1- x 1 X 0.25 0.5 0.75 0.9 0.99 0.999 0.9999 f(x) = 2x+3 X ≠ 1 3 3.5 4 4.5 4.8 4.98 4.998 4.9998

lim f(x) x<1 x>1 x x1+ 1 X 2 1.75 1.5 1.25 1.1 1.01 1.001 1.0001 f(x) = 2x+3 X ≠ 1 7 6.5 6 5.5 5.2 5.02 5.002 5.0002 x1 , fx) จะมีค่าเข้าใกล้ 5 เขียนแทนด้วย lim (2x + 3)(x-1) = 5 (x-1) x1

3. ฟังก์ชันต่อเนื่อง ฟังก์ชัน f(x) จะเป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง ที่ a ก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขเป็นจริงทั้ง 3 ประการ 1. f(a) มีค่า 2. lim f(x) หาค่าได้ 3. lim f(x) = f(a) xa xa y (x2-4)/(x-2) , x ≠ 2 2 , x = 2 EX1 f(x) = 1. f(2) = 2 2. lim f(x) = 4 3. lim f(x) ≠ f(a) x 2 x2 ดังนั้น f(x) ไม่เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง x2

x , 0 ≤ x ≤ 10 10 + 0.9(x-10) = 0.9x + 1 , 10 < x EX2 f(x) = 1. f(10) = 10 2. lim f(x) = 10 lim (0.9x+1) = 10 x10- x10+ lim f(x) = 10 x10 3. f(10) = lim f(x) = 10  f(x) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ 10 x10

4. ทฤษฎีบทสำคัญที่เกี่ยวกับลิมิต 4. ทฤษฎีบทสำคัญที่เกี่ยวกับลิมิต กำหนดให้ u(x), v(x) เป็นฟังก์ชันของตัวแปร x และให้ lim u(x) = A , lim v(x) = B และให้ c เป็นค่าคงตัว ไม่ขึ้นกับ x สามารถพิสูจน์ได้ว่า xa xa 1. lim (u+c) = A+c 2. lim cu = cA 3. lim c/u = c/A 4. lim (u+v) = A+B 5. lim (uv) = AB 6. lim (u/v) = A/B xa xa xa xa xa xa คำถาม 1. lim (1/a) = ? , 2. lim (c/a) = ? , 3. lim ca = ? a0 a a

ถ้า y เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง ที่ขึ้นกับตัวแปร x เพียงตัวแปรเดียว Y = f(x) พิจารณา ค่า y เมื่อ x = x0 , ค่า y ที่ตำแหน่ง x0 = y0 หรือ y0 = f(x0) เมื่อ x = x0 + x , ค่า y ที่ตำแหน่ง x0+ x = y0 + y หรือ y = y0 + y = f(x0) + y = f(x0+x) จัดเทอมใหม่ จะได้ y = f(x0 + x) – f(x0) ............ (1.1)

EX3 y = x2, y = ? กำหนดให้ x0 = 1 , x = 0.1 จากสมการ (1.1) y = f(x0+x) – f(x0) เมื่อ y = x2, y = (x0 +x)2 – (x0)2 = 2x0x + (x)2 y = (2x1x0.1) + (0.1)2 = 0.21 y/x = 0.21/0.1 = 2.1 ถ้า x0 = 1, x = 0.01 y = (2x1x0.01) + (0.01)2 = 0.0201 y/x = 0.0201/0.01 = 2.01 ถ้า x0 = 1, x = 0.001 จะได้ y = 0.002001 y/x = 0.002001/0.001 = 2.001 x มีค่าน้อยมากๆ จนเกือบเป็นศูนย์ ค่า y/x จะยิ่งเข้าใกล้ 2 เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ว่า lim y = 2 x0 x

5. นิยามอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 5. นิยามอนุพันธ์ของฟังก์ชัน _ _ อนุพันธ์ของฟังก์ชัน y เทียบกับ x = d y lim f(x0+ x) – f(x0) หรือ y/ _ dx x d y อ่านว่า ดีบายดีเอ็กซ์ของวาย dx dy อ่านว่า ดีวายบายดีเอ็กซ์ หรืออนุพันธ์ของ y เทียบกับ x

6. ความหมายเชิงเรขาคณิตของอนุพันธ์ 6. ความหมายเชิงเรขาคณิตของอนุพันธ์ เมื่อแทนค่าในสมการ y = f(x) และเขียนกราฟ y เส้นกราฟของ y = f(x) ^ Q y = QR = tan (QPR) y x PR y d y = lim y P dx x0 x y0 R = lim f(x0+x) – f(x0) x0 x x x x0 x ^ = tan (QPR)

7. ผลที่ติดตามมาของการอนุพันธ์ ดังนั้น y คือ ความชันของกราฟระหว่างสองจุด x x 0 , ความชันของจุดสองจุดเปรียบเสมือนกับเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (x0,y0) 7. ผลที่ติดตามมาของการอนุพันธ์ นิยาม และทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับ ลิมิตช่วยให้เราได้ผลที่สำคัญดังต่อไปนี้ กำหนดให้ c เป็นค่าคงตัว f(x) กับ g(x) เป็นฟังก์ชั่นของ x, และ x เป็นฟังก์ชั่นของตัวแปรตัวใหม่  นั้นคือ x  x() จะได้

ตัวอย่างการพิสูจน์

8. ตัวอย่างสูตรมาตรฐานของการหาอนุพันธ์

EX4 y = 4x3 + 3x2 + 2x + 5 , dy = ? dx dy = d [4x3 + 3x2 + 2x + 5] dx dx = d(4x3) + d(3x2) + d(2x) + d(5) dx dx dx dx = (3X4)x3-1+(2X3)x2-1+(1X2)x1-1+ 0 = 12x2 + 6x + 2 Ans EX5 y = (x2+1)2, dy/dx = ? กำหนดให้ u = x2+1 dy = du2 = du2. du dx dx du dx = 2u. d(x2+1) = 2(x2+1). 2x = 4x(x2+1) Ans dx

EX6 y = x2. cos2x , dy/dx = ? dy = d [x2.cos2x] = cos2x . d[x2] + x2. d [cos2x] dx dx dx dx = cos2x.(2x) + x2.(-sin2x).d(2x) dx = 2x.cos2x – 2x2.sin2x ANS EX7 y = 23x , dy/dx = ? ใช้เทคนิคการเปลี่ยนตัวแปร กำหนดให้ u = 3x d y = d (23x) = d(2u) .du = 2u ln2.d 3x = 23x ln2 . 3 = 3 ln2 (23x) ANS dx dx du dx dx