เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Acute Diarrhea.
Advertisements

สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
ชินจังจอมแก่น ตอน โรคอุจจาระร่วง.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอหิวาตกโรค
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
Tuberculosis วัณโรค.
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ทำอย่างไรเมื่อมีอาการไอ จาม เจ็บคอ มีน้ำมูก สวมหน้ากากทันที กรณีไอ จาม ใช้กระดาษทิชชูรองรับ และทิ้งในที่มิดชิด ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือเจลล้าง มือ.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
รวบรวมเทคนิคและเคล็ดลับการสอบสวนโรค ประสบการณ์ภาคสนาม
โรคอุจจาระร่วง.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
การเป็นลมและช็อก.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
โรคเบาหวาน ภ.
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
Tonsillits Pharynngitis
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
Acute diarrhea.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ผู้จัดทำ เด็กหญิงเมธาวิณี ฤาชัย ม.2/4 เลขที่ 44 เด็กหญิงสิรามล เป็งทา ม.2/4 เลขที่ 10 เด็กหญิงกนกอร กาละธรรม ม.2/4 เลขที่ 8 เด็กหญิงหทัยรัตน์ สุตา ม.2/4.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102 เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102 จัดทำโดย เด็กหญิงศุทธินี คงตุก ม 1/5 เลขที่ 54 เด็กหญิงกวิสรา ถ้วยทอง ม.1/5 เลขที่ 6 เด็กชายธนกฤต คตจำปา ม.1/5 เลขที่ 18 ที่ปรึกษา อาจารย์สุมน คณานิตย์

ท้องเสีย ท้องเสีย หมายถึง ภาวะที่ผู้ป่วยถ่ายเป็นน้ำหรือถ่ายเหลวมากกว่าวันละ 3 ครั้ง หรือถ่ายเป็นมูกหรือมูกปนเลือดเพียงครั้งเดียว อย่างไรก็ตามความหมายของท้องเสียที่ระบุโดยจำนวนครั้งของการถ่ายอาจแตกต่างไปจากนี้ในผู้ป่วยบางราย โดยขึ้นอยู่กับลักษณะและความถี่ของการขับถ่ายในสภาวะปกติของแต่ละคน

สาเหตุ สาเหตุของภาวะท้องเสีย สรุปได้ดังนี้ 1. ติดเชื้อไวรัส สาเหตุของภาวะท้องเสีย  สรุปได้ดังนี้         1. ติดเชื้อไวรัส         2. ติดเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อรา         3. อาหารและน้ำดื่มที่ไม่สะอาด         4. แพ้อาหาร       5. ผลข้างเคียงจากการใช้ยา โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ         6. ความเครียด         7. ภาวะที่ร่างกายขาดน้ำและขาดสมดุลของแร่ธาตุ

อาการของคนท้องเสีย มีเลือดปนมา มีมูกเลือดปนมา ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำ มีอาการขาดน้ำ มีไข้นานมากกว่า 24–48 ชั่วโมง อาเจียนติดต่อกันนานมากกว่า 12–24 ชั่วโมง อาเจียนเป็นสีเขียว มีเลือดปน และอาจพบว่ามีกากเหมือนกาแฟ ช่องท้องบวม หรือ ร้องปวดท้องหลายครั้ง ปฏิเสธที่จะรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำ มีผื่นขึ้นตามร่างกาย ตัวเหลืองและตาเหลือง  

วิธีป้องการโรคท้องเสีย   1. บริโภคน้ำ และอาหารที่สะอาด และผ่านการปรุงที่ถูกต้อง    2. เตรียมอาหารและเก็บอาหาร เช่น แช่แข็ง ตาก ดอง อย่างถูกต้องตามกรรมวิธี โดยคำนึงถึงความสะอาดเป็นหลัก    3. ในกรณีที่ต้องเดินทางไปต่างถิ่น การใช้ยาปฏิชีวนะป้องกัน จะช่วยลดโอกาส การเกิดท้องเสียในนักเดินทางได้