โทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์ AMPS โทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์
ความเป็นมาของโทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์ อเล็กซานเดอร์เกร แฮม เบล เป็นผู้วางรากฐานระบบโทรศัพท์ไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2419 จนประมาณปี 1983 ระบบเซลลูลาร์เริ่มพัฒนาขึ้นใช้งาน ระบบแรกที่พัฒนามาใช้งานเรียกว่า ระบบ AMPS (Analog Advance Mobile Phone Service) ระบบดังกล่าวส่งสัญญาณไร้สายแบบอะนาล็อก โดยใช้คลื่นความถี่ที่ 824-894 เมกะเฮิร์ทซ์ โดยใช้หลักการแบ่งช่องทางความถี่หรือที่เรียกว่า FDMA - Frequency Division Multiple Access
ระบบโทรศัพท์เซลลูล่าแบบ AMPS ย่อมาจากคำว่า Advanced Mobile Phone Service ซึ่งเป็นระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบอนาล็อกยุคแรก ที่เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรกในทศวรรษ 1980 ระบบ AMPS เป็นระบบเซลลูล่าร์ที่ส่งข้อมูลแบบอานาล็อกระบบนี้ถูกคิดค้นโดยห้องทดลองเบลล์ (Bell Labs) และเริ่มใช้ในประเทศอเมริกาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2525 ระบบเดียวกันนี้ในประเทศอังกฤษเรียกว่า TACS และในประเทศญี่ปุ่นเรียกว่า MCS - L1 ระบบนี้พื้นที่ที่ครอบคลุมจะถูกแบ่งเป็นเซลล์ย่อย ๆ แต่ละเซลล์มีรูปร่างหกเหลี่ยมขนาดกว้าง 10 ถึง 20 กิโลเมตร ขึ้นอยู่กับความแรงของสัญญาณวิทยุที่ถูกแพร่ออกจากเครื่องโทรศัพท์มือถือด้วยความถี่ 800 - 900 เมกะเฮิรตซ์ โดยทั่วไปกำลังของโทรศัพท์มือถือมีเพียง 0.6 วัตต์ และเครื่องส่งในรถยนต์มีกำลัง 3 วัตต์ ซึ่งเป็นค่าสูงสุดที่ยอมโดย FCC (Federal Communications Commission)
ข้อดี – ข้อเสีย ของระบบ AMPS 2. เครื่องโทรศัพท์ในระบบนี้สามารถใช้ได้ในย่านความถี่ 850 MHz และ 1900 MHz 3. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการแปลงสัญญาณดิจิตอล ทำให้สามารถใช้งานในคลื่นความถี่เดียวกัน ข้อเสีย 1.การบีบอัดให้เป็นสัญญาณดิจิตอลจาก 56 Kbps บีบให้เหลือ 8 Kbps จะทำให้การส่ง สัญญาณช้า 2. ในประเทศไทยยังไม่มีระบบนี้ใช้ 3. ในต่างประเทศระบบนี้ยังไม่มีการใช้แพร่หลายมากนัก
การนำไปใช้งานในเชิงสร้างสรรค์