Chapter 4 อินทิกรัล Integrals

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Antiderivatives and Indefinite Integration
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
สื่อการเรียนรู้ โดย นางสุมิตรา ดีมี
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Probability & Statistics
Power Series Fundamentals of AMCS.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ฟังก์ชัน y เป็นฟังก์ชันของ x ก็ต่อเมื่อ มีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y โดยเราสามารถหาค่า y ได้เมื่อกำหนดค่าของ x ให้ เช่น y = x2+1 เรียก y.
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 15.
การหาปริพันธ์ (Integration)
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
เมื่อนักคณิตศาสตร์เขียน 4! เครื่องหมายตกใจ
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
(Internal energy of system)
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
อินทิกรัลของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 4 อินทิกรัล Integrals

4.1 อินทิกรัลไม่จำกัดเขต [ Indefinite Integral ] อินทิกรัล (Integral) หรือการอินทิเกรต (Integration) เป็นกระบวน การย้อนกลับของอนุพันธ์ นิยาม ฟังก์ชัน F(x) จะเรียกว่าเป็น ปฏิยานุพันธ์ (Antiderivative) ของฟังก์ชัน f(x) บนช่วง I ถ้า สำหรับทุกๆ ค่า

สูตรพื้นฐานของอินทิกรัล ทฤษฎีบท ถ้า F(x) เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f(x) บนช่วง I แล้ว F(x) + C เมื่อ C เป็นค่าคงตัวใดๆ ก็จะเป็นปฏิยานุพันธ์ของ f(x) บนช่วง I นอกจากนั้นทุกๆ ปฏิยานุพันธ์ของ f(x) บนช่วง I ยังสามารถเขียนในรูป F(x) + C เมื่อ C เป็นค่า คงตัวบางจำนวน สัญลักษณ์ เรียกว่า อินทิกรัลไม่จำกัดเขต (Indefinite Integral) สัญลักษณ์ เรียกว่า เครื่องหมายอินทิกรัล (Integral symbol) ฟังก์ชัน เรียกว่า อินทิแกรนด์ (Integrand) และสัญลักษณ์ dx เป็นตัวที่บ่งบอกให้ทราบว่าเรากำลังจะอินทิเกรตเทียบกับตัวแปร x สูตรพื้นฐานของอินทิกรัล

ตัวอย่างที่ 1

ทฤษฎีบท ให้ C เป็นค่าคงตัวใดๆ ตัวอย่างที่ 2

4.2 การอินทิเกรตโดยการแทนค่า [ Integration by Substitution ] ในกรณีที่เราไม่สามารถอินทิเกรตตามสูตรหัวข้อ 4.1 ได้ เราจะมีวิธีการที่ เรียก ว่า วิธีการแทนค่ายู (Method of U-Substitution) เราจะต้องแทนค่า u ซึ่งจะ มีหลักในการเช็คดังต่อไปนี้ 1. มองหาส่วนประกอบของ f(g(x)) ภายในอินทิแกรนด์สำหรับการแทนค่า 2. หาค่าอินกรัลในเทอมของ u 3. แทนค่า u ด้วย g(x) ซึ่งเราจะได้คำตอบสุดท้ายอยู่ในเทอมของ x

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ วิธีทำ สมมุติให้

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ วิธีทำ สมมุติให้

ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ ในกรณีที่การอินทิเกรตไม่ได้อยู่ในรูปของ และไม่ได้ ต่างกันเฉพาะค่าคงตัวที่เป็นสัมประสิทธิ์ เราสามารถแก้ปัญหาโดยการแทนยู ได้เช่นกันแต่จะมีเทคนิคเพิ่มเติมดังนี้ ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ วิธีทำ สมมุติให้

4.3 อินทิกรัลจำกัดเขต [ Definite Integral ] นิยาม ฟังก์ชัน f(x) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a,b] แล้ว อินทิกรัล จำกัดเขต (Definite Integral) จะแสดงโดย ผลรวมที่ปรากฏในนิยาม จะเรียกว่า ผลบวกรีมันน์ (Riemann Sum) และ อินทิกรัลจำกัดเขตบางครั้งจะถูกเรียกว่า รีมันน์อินทิกรัล (Riemann Integral) ทฤษฎีบท ถ้าฟังก์ชัน f(x) ต่อเนื่องบนช่วงปิด [a,b] แล้ว f(x) จะสามารถอินเกรตบนช่วงปิด [a,b]

ตัวอย่างที่ 1 นิยาม (a ) ถ้า a อยู่ในโดเมนของ f เราจะให้ (b ) ถ้า f สามารถอินทิเกรตได้บนช่วง [a,b] เราจะให้ ตัวอย่างที่ 1

ทฤษฎีบท ถ้า f และ g สามารถอินทิเกรตได้บนช่วง [a,b] และ c เป็นค่าคงตัว ทฤษฎีบท ถ้า f สามารถอินทิเกรตได้บนช่วงปิดซึ่งประกอบไปด้วยสามค่า a , b และ c แล้ว นิยาม ฟังก์ชัน f กำหนดบนช่วง I จะกล่าวได้ว่า มีขอบเขต(Bounded) บนช่วง I ถ้ามีจำนวนบวก M ซึ่ง สำหรับทุก x ในช่วง I

สำหรับทุก x ในช่วง [a,b] แล้ว ทฤษฎีบท (a ) ถ้า f สามารถอินทิเกรตได้บนช่วง [a,b] และ สำหรับทุก x ในช่วง [a,b] แล้ว (b) ถ้า f และ g สามารถอินทิเกรตได้บนช่วง [a,b] และ สำหรับทุก x ในช่วง [a,b] แล้ว ทฤษฎีบท ถ้า f เป็นฟังก์ชันที่ถูกกำหนดบนช่วง [a,b] (a ) ถ้า f ไม่มีความต่อเนื่องบนช่วง [a,b] แต่มีขอบเขตบนช่วง I แล้ว f จะสามารถอินทิเกรตได้บน [a,b] (b) ถ้า f ไม่มีขอบเขตบนช่วง [a,b] แล้ว f จะไม่สามารถอินทิเกรต ได้บน [a,b]

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ ทฤษฎีบท (ทฤษฎีบทพื้นฐานของแคลคูลัสทฤษฎีที่ 1) ถ้า f มีความต่อเนื่องบนช่วง [a,b] และ เป็นปฎิยานุพันธ์ของ f บน [a,b] แล้ว ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ วิธีทำ

ทฤษฎีบท (ทฤษฎีบทพื้นฐานของแคลคูลัสทฤษฎีที่ 2) ทฤษฎีบท (ทฤษฎีบทพื้นฐานของแคลคูลัสทฤษฎีที่ 2) ถ้า f มีความต่อเนื่องบนช่วง I และ f มีปฎิยานุพันธ์บนช่วง I แล้วฟังก์ชัน F จะถูกกำหนดโดย ซึ่งก็คือปฎิยานุพันธ์ของ f บนช่วง I นั่นคือ สำหรับทุกๆ x บนช่วง I หรือใช้สัญลักษณ์ ทฤษฎีบท (ทฤษฎีบทค่าเฉลี่ยสำหรับอินทิกรัล) ถ้า f มีความต่อเนื่องบนช่วง [a,b] แล้วจะมีอย่างน้อยหนึ่งจำนวน ในช่วง [a,b] ซึ่ง

ตัวอย่างที่ 3 จงใช้ทฤษฎีบทค่าเฉลี่ยสำหรับอินทิกรัล (Mean-Value Theorem for Integral) หา ในช่วง [1,4] ซึ่ง วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าของ เมื่อ ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าของ เมื่อ วิธีทำ